งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด

2 บทนำ การวิเคราะห์ลูปคือการใช้กฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์รอบๆ แต่ละลูปปิดเพื่อสร้างสมการพีชคณิต การวิเคราะห์โนดคือการใช้กฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์เพื่อสร้างสมการ โนดคือจุดต่อของบรานซ์จำนวน 2 บรานซ์ขึ้นไป โนดอ้างอิงคือโนดที่มีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์หรือกราวด์ วงจรไฟฟ้าที่มี N โนดจะมี (N-1) โนดที่มีศักย์ไฟฟ้าคงที่เมื่อเปรียบเทียบกับโนดอ้างอิงที่กำหนดไว้

3 การวิเคราะห์โนดแบบทั่วไป (General Approach Nodal Analysis)
หาจำนวนของโนดในวงจรไฟฟ้า เลือกโนดอ้างอิงและเขียนตัวห้อยกำกับแรงดันของโนดที่เหลือเช่น V1, V2, V3 เป็นต้น สมมติทิศทางของกระแสในแต่ละบรานซ์ ใช้กฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ที่แต่ละโนด ยกเว้นโนดอ้างอิง แก้ปัญหาของสมการพีชคณิตเชิงเส้นเพื่อหาค่าแรงดันที่โนด

4

5

6

7

8

9

10

11

12 V V

13

14 การวิเคราะห์โนดชนิดเป็นรูปแบบ (Format Approach Nodal Analysis)
เทอมร่วมในสมการ ซึ่งจะต้องลบออกจากคอลัมน์แรกเสมอ โดยเทอมร่วมอาจมีมากกว่า 1 เทอม ขึ้นอยู่กับจำนวนของความนำที่ต่อระหว่างโนดที่กำลังพิจารณากับโนดอื่นๆ ในวงจร โดยแต่ละเทอมร่วมคือผลคูณของความนำร่วมกับแรงดันโนดที่ปลายอีกข้างหนึ่งของความนำร่วม

15 คอลัมน์ทางด้านขวามือของสมการมีค่าเท่ากับผลรวมทางพีชคณิตของแหล่งจ่ายกระแสที่ต่ออยู่กับโนดที่กำลังพิจารณา โดยกำหนดให้มีค่าเป็นบวกถ้ากระแสจากแหล่งจ่ายกระแสนั้นไหลเข้าโนด จะมีค่าเป็นลบถ้ากระแสไหลออกจากโนด แก้ปัญหาสมการพีชคณิตเชิงเส้นเพื่อหาค่าแรงดันโนดตำแหน่งที่ต้องการ

16

17

18

19

20


ดาวน์โหลด ppt ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google