งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
โรงเรียนวังไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค 33101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน

2 เรื่อง อสมการ 1.2) การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

3 การแก้อสมการ คือ การหาคำตอบของอสมการ
การแก้อสมการ คือ การหาคำตอบของอสมการ เพื่อความรวดเร็วในการแก้อสมการ เราจะใช้ สมบัติของการไม่เท่ากัน ในการหาคำตอบของอสมการ

4 1. ถ้า a < b แล้ว a + c < b + c 2. ถ้า a ≤ b แล้ว a + c ≤ b + c
1) สมบัติการบวกของการไม่เท่ากัน เมื่อ a, b และ c แทนจำนวนจริงใด ๆ 1. ถ้า a < b แล้ว a + c < b + c 2. ถ้า a ≤ b แล้ว a + c ≤ b + c 3. ถ้า a > b แล้ว a + c > b + c 4. ถ้า a ≥ b แล้ว a + c ≥ b + c

5 หมายเหตุ ถ้าลบด้วย c (คือลบด้วยจำนวนจริงใด ๆ ) ก็ยังคงใช้สมบัติการบวกของการไม่เท่ากันนี้เช่นเดียวกัน เพราะการลบด้วย c มีความหมาย เช่นเดียวกับการบวกด้วย – c นั่นเอง

6 x > 16 ตัวอย่างที่ 1 จงแก้อสมการ x – 12 > 4 และเขียนกราฟ
แสดงคำตอบด้วย วิธีทำ จาก x – 12 > 4 นำ 12 มาบวกทั้งสองข้างของอสมการ จะได้ x – > x > 16 ดังนั้น

7 จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากกว่า 16
นั่นคือ คำตอบของอสมการ คือ จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากกว่า 16 16 8 32 24 40

8 x ≤ 3 ตัวอย่างที่ 2 7 + x + (-7) ≤ 20 + (-7) 7 + x - 7 ≤ 20 - 7
แสดงคำตอบด้วย วิธีทำ จาก x ≤ 20 นำ -7 มาบวกทั้งสองข้างของอสมการ 7 + x + (-7) ≤ (-7) จะได้ 7 + x ≤ x ≤ 3 ดังนั้น

9 คือ จำนวนจริงทุกจำนวนที่ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 13
นั่นคือ คำตอบของอสมการ 7 + x ≤ 20 คือ จำนวนจริงทุกจำนวนที่ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 13 12 11 14 13 15 10

10 ac < bc ac ≤ bc 2) สมบัติการคูณของการไม่เท่ากัน
ให้ a, b และ c แทนจำนวนจริงใด ๆ 1. ถ้า a < b และ c เป็นจำนวนจริงบวก แล้ว ac < bc 2. ถ้า a ≤ b และ c เป็นจำนวนจริงบวก แล้ว ac ≤ bc

11 ac > bc ac ≥ bc 3. ถ้า a < b และ c เป็นจำนวนจริงลบ แล้ว
(เครื่องหมายจะ เปลี่ยนเป็นตรงกันข้าม) 4. ถ้า a ≤ b และ c เป็นจำนวนจริงลบ แล้ว ac ≥ bc (เครื่องหมายจะ เปลี่ยนเป็นตรงกันข้าม)

12 สมบัติการคูณของการไม่เท่ากัน จึงเป็นจริงสำหรับกรณีที่ a > b
เนื่องจาก a < b มีความหมายเช่นเดียวกับ b > a และ a ≤ b มีความหมายเช่นเดียวกับ b ≥ a ดังนั้น สมบัติการคูณของการไม่เท่ากัน จึงเป็นจริงสำหรับกรณีที่ a > b และ a ≥ b ด้วย

13 ac > bc ac ≥ bc จะได้ว่า 1) ถ้า a > b และ c เป็นจำนวนจริงบวก
แล้ว ac > bc 2) ถ้า a ≥ b และ c เป็นจำนวนจริงบวก แล้ว ac ≥ bc

14 ac < bc ac ≤ bc 3) ถ้า a > b และ c เป็นจำนวนจริงลบ แล้ว
(เครื่องหมายจะเปลี่ยนเป็นตรงกันข้าม)

15 ข้อสังเกต จะเห็นว่า สมบัติการคูณของการไม่เท่ากัน มี 2 กรณี กรณีที่ 1 ถ้า c เป็นจำนวนจริงบวก เครื่องหมายที่แสดงการไม่เท่ากันจะไม่เปลี่ยนแปลง จะเหมือนเดิม

16 กรณีที่ 2 ถ้า c เป็นจำนวนจริงลบ เครื่องหมายที่แสดงการไม่เท่ากันจะเปลี่ยนไปเป็นตรงกันข้าม (คำตอบของอสมการที่ได้จึงจะเป็นจริง)


ดาวน์โหลด ppt คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google