ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
การจัดระเบียบทางสังคม ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล
2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
รู้และเข้าใจการจัดระเบียบทาง สังคมและปฏิบัติตนได้อย่าง เหมาะสม
11
การจัดระเบียบทางสังคม
ความหมาย กฎเกณฑ์และระเบียบแบบแผนที่เกี่ยวข้อง กับความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและกลุ่ม เพื่อการดำรงอยู่ของสังคม
12
กลุ่ม หมายถึง บุคคลตั้งแต่ 2 คน หรือมากกว่านั้น
ซึ่งอาจมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมร่วมกัน
13
องค์ประกอบ 1.บรรทัดฐานหรือปทัสถาน (Norms) - วิถีประชา (folkways)
- จารีตประเพณี (mores) - กฎหมาย (laws) 2.การควบคุมทางสังคม (Social control) 3.สถานภาพ (Status)
14
บรรทัดฐานหรือปทัสถาน (Norms)
กฎ กติกา มารยาท ระเบียบ แนวทาง การปฏิบัติตนให้เหมาะสมสำหรับ การอยู่ร่วมกันในสังคม มาตรฐานที่กำหนดว่าอะไรถูก อะไรผิด ควรกระทำ ไม่ควรกระทำ
15
การจัดระเบียบทางสังคม
แนวทางการดำเนินชีวิตประจำวัน ของคนในสังคมนั้นที่ปฏิบัติกันมาจนเคยชิน
16
การจัดระเบียบทางสังคม
การแต่งกาย การไหว้
17
จารีตประเพณี กฏเกณฑ์ข้อห้ามที่กระทบ ต่อความเชื่อทางศีลธรรม
18
การจัดระเบียบทางสังคม
19
กฎหมาย ข้อบังคับอย่างเป็นทางการเพื่อควบคุมพฤติกรรมคนในสังคม มีองค์กรของรัฐเป็นผู้ควบคุม โดยกำหนดรายละเอียดไว้เป็นลายลักษณ์อักษรและมีบทลงโทษผู้ฝ่าฝืนอย่างชัดเจน
20
การจัดระเบียบทางสังคม
โรงพัก ศาล เรือนจำ
21
การควบคุมทางสังคม (Social control)
1.การให้รางวัลและการลงโทษ 2.การอบรมปลูกฝังจนเกิดจิตสำนึก ในการควบคุมตนเอง
22
สถานภาพ (Status) ตำแหน่งและฐานะที่ได้จากการเป็นสมาชิก ของสังคม
1.สถานภาพโดยกำเนิด 2.สถานภาพสัมฤทธิ์หรือสถานภาพที่ได้มาภายหลัง
23
การจัดระเบียบทางสังคม
สถานภาพกับบทบาท สถานภาพกับการเลื่อนชั้นทางสังคม
24
รูปแบบการจัดระเบียบทางสังคม
1.แบบเครือญาติ 2.แบบนายกับบ่าว 3.แบบสถานภาพ 4.แบบพันธะสัญญา 5.แบบระบบราชการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.