งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

LI 395 บทที่ 3 หัวข้อการเรียน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "LI 395 บทที่ 3 หัวข้อการเรียน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 LI 395 บทที่ 3 หัวข้อการเรียน

2 เสียงของภาษาอังกฤษและการอ่าน The Sounds of English
๑. ความรู้ทางสัทวิทยาที่ใช้เป็นพื้นฐานในการอ่าน สัทวิทยา Phonology ๑. การออกเสียงในภาษา Phonetics ๒. การศึกษาระบบของเสียง Phonemics

3 การออกเสียงในภาษาอังกฤษ
สัทศาสตร์ Phonetics ๑. การศึกษาคุณสมบัติของเสียง กลสัทศาสตร์ หรือ นินาทสัทศาสตร์ Acoustic Phonetics ๒. การศึกษาเกี่ยวกับอวัยวะในการออกเสียง Articulatory Phonetics

4 Articulatory Phonetics
ทางเดินของเสียง (Vocal Tracts) ฐานกรณ์ของเสียง (Place of Articulation) ประเภทของการออกเสียง (Manner of Articulation)

5 ทางเดินของเสียง (Vocal Tracts)
๑. เส้นเสียง (Vocal cords) ๗. ลิ้น (Tongue) ๒. กล่องเสียง (Larynx) ๘. ฟัน (Teeth) ๓. ช่องคอหอย (Glottis) ๙. ริมฝีปาก (Lips) ๔. ช่องคอ (Pharynx) ๑๐. ช่องจมูก (Nasal ๕. ลิ้นไก่ (Uvula) cavity) ๖. ช่องปาก (Oral cavity)

6 ทิศทางเดินของเสียง การพูดออกเสียงในภาษา อาศัย ทิศทางลมออก (Egression)
ทิศทางลมเข้า (Ingression)

7 ฐานกรณ์ของเสียง (Place of Articulation)
๑. อวัยวะที่เคลื่อนที่ไม่ได้ เช่น เพดานปาก ฟัน ๒. อวัยวะที่เคลื่อนที่ได้ เช่น ริมฝีปาก ลิ้นและลิ้นไก่

8 ประเภทของการออกเสียง (Manners of Articulation)
เสียงหยุด (Stop) ๘. เสียงม้วนลิ้น(Retroflex) เสียงแทรก (Fricative) ๙.เสียงเลื่อน (Glide) เสียงหยุดแทรก (Affricate) เสียงนาสิก (Nasal) เสียงลอดข้าง (Lateral) เสียงลิ้นรัว (Trill) ๗. เสียงลิ้นกระดก ( Flap)

9 เสียงพยัญชนะและเสียงสระ (Consonant &Vowel Sounds)
เสียงพยัญชนะ (Consonant sounds) เป็นเสียงที่ผ่านออกมาทางช่องปากซึ่งมีฐานกรณ์ต่างๆสกัดกั้น ทำให้เกิดเสียงต่างๆกัน เสียงสระ (Vowel sounds) เป็นเสียงที่ผ่านออกมาทางช่องปากที่ไม่มีอะไรปิดกั้นทางเดินของอากาศ บางครั้งมีเสียงเป็นทั้งกึ่งสระและพยัญชนะ (Semi-Vowel) บางครั้งเรียกว่าเป็นเสียงเลื่อน (Glides) เช่นเสียง w และ y

10 เสียงสระ (Vowel) การอธิบายเสียงสระอาศัยตำแหน่งของลิ้น และลักษณะของปาก ๓ ลักษณะ คือ ๑. ระดับลิ้นสูงมาก สูง และปานกลาง (ตามระดับปากแคบ กึ่งแคบ กึ่งกว้าง และกว้าง) ๒. ลิ้นส่วนที่ใช้ออกเสียง ส่วนหน้า ส่วนกลาง และ ส่วนหลัง ๓. ลักษณะของริมฝีปาก ยืดกว้าง แคบ ห่อกลม

11 สัญลักษณ์แทนเสียง (Phonetic Symbols)
นักสัทศาสตร์ได้คิดสัญลักษณ์ขึ้นมาชุดหนึ่งเพื่อใช้เป็นตัวแทนบ่งถึงฐานกรณ์และประเภทของเสียงในเวลาเดียวกันได้ สัญลักษณ์ดังกล่าวนี้ใช้ได้กับทุกๆภาษา ซึ่งสมาคมสัทศาสตร์นานาชาติเป็นผู้กำหนดขึ้น เรียกว่า International Phonetic Association เรียกย่อๆว่า IPA

12 ๑.๒ ระบบของเสียง (Phonemics)
๑. หน่วยเสียง ( Phonemes) ๒. หน่วยเสียงย่อย ( Allophones) ๓. เสียงแปร (Neutralization) ๔. ทำนองประโยค (Intonation) ๕. การกลมกลืนของเสียง (Assimilation)

13 ๑. หน่วยเสียง (Phonemes)
ลักษณะของหน่วยเสียง เสียงที่ใช้สื่อความหมายได้หรือทำให้คำต่างกัน สัญลักษณ์ที่ใช้แสดงหน่วยเสียง / / แทน [ ] ซึ่งแสดงถึงตัวอักษรแทนเสียง (Phonetic symbol) ตัวอย่าง red [red] led [led] /r/ ~ /l/ fat ~ vat, fine ~ vine /f/ ~ /v/ /f/[ -voice, +labiodental, + fricative ] /v/[+voice, +labiodental, + fricative]

14 ๒. หน่วยเสียงย่อย (Allophones)
การออกเสียงของหน่วยเสียงใดหน่วยเสียงหนึ่งซึ่งอาจจะออกเสียงได้อย่างเดียวหรือหลายอย่าง โดยเปลี่ยนตามตำแหน่งของเสียง ตัวอย่าง pin, pass [p] /ph/ drip, lip [p] /p]] spy, speak [p] /p/ tar [t] /th/ , star [t] /t/ writer [t] /D/ eighth [t] /t/ allophones /t/, /D/, /th/, /t/

15 ๓. เสียงแปร (Neutralization)
หน่วยเสียงสองหรือสามตัวซึ่งปกติแล้วมีความแตกต่างกันแต่เมื่อปรากฏในสิ่งแวดล้อมใดแวดล้อมหนึ่ง หน่วยเสียงเหล่านี้จะไม่แตกต่างกัน ตัวอย่าง wetting ~ wedding [t], [d] /d/ กาบ บาท บาก /-p]/, /-t]/,/-k]/ ปีน ทาง กิน /p/, /t/, /g/

16 กฏการออกเสียงและการอ่าน
๑. กฎการซ้ำเสียงในหน่วย (Segment redundancy rules) แสดงความเปลี่ยนแปลงของเสียงที่ทำนายได้ เช่นเดียวกับกฎหน่วยเสียงย่อย (Allophone) เช่น เสียง [ph] ใน pit เปลี่ยนเป็น [p] ในคำว่า spit เสียง [th] ใน tar เปลี่ยนเป็น [t] ในคำว่า star เป็นเพราะมีการซ้ำเสียงในหน่วย หรืออิทธิพลของเสียงที่เกิดก่อน

17 ๒. กฎการซ้ำเสียงต่อเนื่อง (Sequence and redundancy rules)
อธิบายลักษณะของเสียงที่เกิดขึ้นต่อเนื่องในภาษาใดภาษาหนึ่ง ในภาษาอังกฤษ ถ้ามีเสียงควบกล้ำ ๓ เสียง เสียงแรกเป็น S เสียงที่สองจะเป็นเสียงหยุด p, t,หรือ k เสียงสุดท้ายจะเป็นเสียง l หรือ r เช่น split, scrat, street, etc. แต่ถ้าออกเสียงเป็น Fplot , Psrot จะไม่ใช่คำใน ภาษาอังกฤษ

18 ๓. กฎหน่วยเสียงของหน่วยคำ (Morphophonemic rules)
อธิบายการสับเปลี่ยนของเสียงในคำอย่างมีระบบ เช่น [ay] เป็น [i] devine เป็น devinity line linear [ey] เป็น [a] profane profanity [iy] [e] serene serenity [s] [k] criticism critical [j] [g] regid regor [s] เป็น [z] books เป็น dogs, bugs การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เป็นอิทธิพลของการเปลี่ยนเสียงสระและพยัญชนะในพยางค์

19 ความสำคัญของระบบเสียงในภาษาต่อความสำเร็จในการเรียนรู้การอ่าน
ผลการวิจัยเกี่ยวกับเรื่องเสียงมีอิทธิพลต่อการอ่านคือ ๑. กฎการออกเสียงเกิดขึ้นจริงสำหรับผู้พูดบางคน ๒. เด็กอายุ ๖ - ๗ ปี จำเป็นต้องรู้เรื่องการออกเสียงในระยะเข้าเรียนใหม่ๆ ๓. กฎการออกเสียงช่วยให้สะกดคำในภาษาอังกฤษได้ ดีขึ้น


ดาวน์โหลด ppt LI 395 บทที่ 3 หัวข้อการเรียน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google