ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์ อาจารย์นที ยงยุทธ
2
ระบบดิจิตอลและระบบแอนะล็อก
ระบบแอนะล็อก (analog) เป็นระบบที่ต่อเนื่อง (continuous system) ระบบดิจิตอล (digital) เป็นระบบไม่ต่อเนื่อง บางครั้งเรียกว่าดีสครีต (discrete) จะถูกแทน ด้วยระบบเลขฐานสอง (binary)
3
ระบบดิจิตอลและระบบแอนะล็อก
ระบบทางธรรมชาติทุกชนิดเป็นปริมาณแอนะล็อก Analog to Digital Converter (ADC) Digital to Analog Converter (DAC)
4
ลักษณะของสัญญาณดิจิตอล
แรงดันที่แทนลอจิก “0” และลอจิก “1” เรียกว่า logic level บิตที่มีค่าเป็น “1” เรียกว่า HIGH บิตที่มีค่าเป็น “0” เรียกว่า LOW VHmax) HIGH ลอจิก “1” VH(min) ไม่รับรู้ VL(max) LOW ลอจิก “0” VL(min) แสดงค่าระดับแรงดันลอจิก
5
ลักษณะของสัญญาณดิจิตอล
ปริมาณทางดิจิตอลที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลาจะอธิบาย ด้วยไดอะแกรมเวลา (timing diagram) บางครั้งเรียกว่า คลื่นดิจิตอล (digital waveform) จุดเปลี่ยนจาก Low เป็น High HIGH Low
6
ลักษณะของสัญญาณนาฬิกา
สัญญาณนาฬิกา (periodic) ไม่เป็นคาบเวลาแน่นอน (nonperiodic) สัญญาณพัลส์
7
คุณสมบัติของสัญญาณ ความถี่ (frequency) ดิวตี้ไซเกิล (duty cycle)
8
ประเภทของวงจรดิจิตอล
วงจรคอมไบเนชัน (Combination) หรือวงจรเชิงจัดหมู่ วงจรซีเควนเชียล (Sequental)หรือวงจรเชิงลำดับ
9
อุปกรณ์ของวงจรดิจิตอล
เกตพื้นฐานได้แก่ OR, AND และ NOT จะถูกสร้างอยู่ในรูปของไอซี (Integrated circuit)
10
อุปกรณ์ของวงจรดิจิตอล
ฟังก์ชัน Comparison เป็นวงจรที่นำข้อมูลดิจิตอลสองค่ามาเปรียบเทียบกัน โดยวงจรนี้เรียกว่าคอมพาราเตอร์ (comparator) ฟังก์ชัน Arithmetic แบ่งออกเป็น - Addition - Subtraction - Multiplication - Division
11
อุปกรณ์ของวงจรดิจิตอล
ฟังก์ชัน Encoding ฟังก์ชัน Decoding ฟังก์ชัน Data Selection - มัลติเพล็กเซอร์ (Multiplexer) - ดีมัลติเพล็กเซอร์ (Demultiplexer)
12
อุปกรณ์ของวงจรดิจิตอล
ฟังก์ชัน Storage - ฟลิปฟลอป - รีจีสเตอร์ ฟังก์ชัน Counting
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.