งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การตรวจอากาศด้วยเรดาร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การตรวจอากาศด้วยเรดาร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การตรวจอากาศด้วยเรดาร์
นางเบญจวรรณ กมลเลิศ พอต.ชง. ส่วนติดตามสภาวะอากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ

2 ความหมาย เรดาร์ตรวจอากาศ เป็นเครื่องมือทางอุตุนิยมวิทยาชนิดหนึ่งที่ใช้ตรวจ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ อาทิ ลูกเห็บ หิมะ ฝน ฝนฟ้าคะนอง พายุฝนฟ้า คะนอง นอกจากนั้นเรดาร์ตรวจอากาศยังสามารถตรวจและวิเคราะห์ ศูนย์กลางพายุหมุนเขตร้อนได้ตั้งแต่ พายุโซนร้อนจนถึงพายุไต้ฝุ่นเมื่อพายุ นั้นเคลื่อนเข้ามาในรัศมีหวังผล ( 230 กม.)

3 หลักการทำงานของเรดาร์
. เรดาร์จะส่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาในรูป PULSE มี ช่วงสั้นโดยออกจากเครื่องส่งไปยังจานสายอากาศเมื่อ กระทบเป้าจะเกิดการสะท้อนกลับมายังจานสายอากาศ เข้าสู่ภาคเครื่องรับ

4 ส่วนประกอบ 1. จานสายอากาศ (Antenna) 2. สวิตซ์เครื่องรับ-ส่ง (Transmit receive switch) 3. เครื่องส่ง (Transmitter) 4. เครื่องรับ (Receiver) 5. หน่วยประเมินผล (Processor) 6. จอแสดงภาพ (Display)

5 ผังการทำงาน

6 เรดาร์ตรวจอากาศ X - Band
ความถี่ 6, ,000 MHz ความยาวคลื่น cm. เหมาะในการตรวจวัดฝนกำลังอ่อน ถึง กำลังปานกลาง สามารถตรวจวัดฝนกำลังปานกลาง ถึง หนัก ได้ มีการสูญเสียพลังงานเมื่อคลื่นเรดาร์กระทบเป้า เป้าของฝนที่ตรวจได้จากจอเรดาร์ มีขนาดและรูปร่างผิดจากความเป็นจริง รัศมีทำการ 100 กิโลเมตร และมีรัศมีหวังผล 60 กิโลเมตร ราคาค่อนข้างถูก และค่าบำรุงรักษาน้อย

7 เรดาร์ตรวจอากาศ C – Band
มีความถี่ 3, ,200 MHz ความยาวคลื่น cm. ขนาดกลางเหมาะในการตรวจวัดฝนกำลังปานกลาง – หนัก มีการสูญเสียพลังงาน มีรัศมีทำการ 450 กิโลเมตร และมีรัศมีหวังผล 230 กิโลเมตร ราคาสูงกว่าเรดาร์แบบ X-Band ค่าบำรุงรักษามากกว่าเรดาร์แบบ X-Band

8 เรดาร์ตรวจอากาศ S – Band
-มีความถี่ 1, ,900 MHz ความยาวคลื่น cm. ขนาดใหญ่เหมาะในการตรวจวัดฝนกำลังหนัก ถึง หนักมาก สามารถตรวจวัดผลกำลังอ่อน ถึง ปานกลางได้ด้วย การสูญเสียพลังงานน้อย รูปร่างผิดจากความเป็นจริงไปบ้างเล็กน้อย รัศมีทำการ 550 กิโลเมตร และมีรัศมีหวังผล 230 กิโลเมตร ราคาและค่าบำรุงรักษาแพงกว่า แบบ X-Band และ C - Band

9

10 ภาพแสดงลักษณะ CELL ของกลุ่มฝน

11

12

13

14 CMM (combine Movement Map)

15

16 ประโยชน์ของเรดาร์ตรวจอากาศ
1. ใช้ตรวจจับหาบริเวณที่มีฝนหรือฝนฟ้าคะนอง รวมทั้งรายงานความแรงทิศทางและ ความเร็วในการเคลื่อนตัวของกลุ่มฝนนั้นๆด้วย 2. ใช้ตรวจและติดตามการเคลื่อนตัว รวมทั้งหาศูนย์กลางของพายุหมุน เช่น พายุโซน ร้อน พายุไต้ฝุ่น เป็นต้น 3. ใช้ตรวจหิมะ ลูกเห็บ เมฆ 4. ช่วยในการพยากรณ์อากาศระยะสั้น 5. ใช้วิเคราะห์ทิศทางและความเร็วลมชั้นบนในระดับต่างๆ 6. ช่วยในการเตือนภัยและเตรียมการป้องกันน้ำท่วม

17 สวัสดีคะ

18


ดาวน์โหลด ppt การตรวจอากาศด้วยเรดาร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google