ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNattakan Chatwilai ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
บรรยายเรื่อง KNOWLEDGE MANAGEMENT:KM น.อ.ผศ.วันทวี ปาลโมกข์ ร.น.
โดย น.อ.ผศ.วันทวี ปาลโมกข์ ร.น.
2
หัวข้อในการบรรยาย 1.ความสำคัญของความรู้ 5.KM. คืออะไร? 2.ความรู้ คืออะไร? 6.วงจรของ KM. 3.ประเภทของความรู้ 7.กระบวนการของ KM. 4.ทำไมต้อง KM. 8.ปัจจัยที่ทำให้ KM. ประสบ ความสำเร็จ 9.ถ้ามีเวลาจะนำเสนอ LO.
3
ความสำคัญของความรู้
4
IKUJIRO NONAKA กล่าวถึงความรู้ไว้ว่า
เป็นความได้เปรียบในการแข่งขันที่ยั่งยืนที่สุด โดยเฉพาะในยุค KNOWLEDGE –BASED ECONOMY เช่นกลุ่ม OECD (ORGANIZATION ECONOMIC COOPERATION AND DEVELOPMENT)
5
การที่องค์การจะดำรงค์อยู่ได้ในยุค KNOWLEDGE
-BASED ECONOMY จำเป็นอย่างยิ่งที่องค์การจะ ต้องปรับยุทธศาสตร์ทั้งหมดขององค์การ สู่การแข่งขันที่ต้องใช้ ความเร็ว ความถูกต้อง ความมีประสิทธิภาพ ความได้เปรียบในการผลิต
6
> โดยใช้ ทรัพยากรที่จับต้องไม่ได้ ทรัพยากรที่จับต้องได้
$ 1. ความรู้ * เครื่องจักร $ 2. ทักษะ * อาคาร > $ 3. เทคโนโลยี * อุปกรณ์ $ 4. ประสบการณ์ * สำนักงาน $ 5. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ * ทุน $ 6. ให้ความสำคัญกับลูกค้า * เน้นการผลิต
7
ลักษณะเด่นของความรู้
ROMER , PAUL M. (1993:64) ** ความรู้ยิ่งใช้ยิ่งมีมากไม่มีขีดจำกัด ** เมื่อนำความรู้ใหม่มาผสมกับความรู้เดิมที่มีอยู่ ในตัวคนก็จะเกิดความรู้ใหม่ๆมากขึ้นไปอีก ** เป็นการสร้างความรู้ใหม่จากงานที่ทำ ** หมุนเวียนกลายเป็นวงจรความรู้ไม่จบสิ้น
8
ความหมายของความรู้ HIDEO YAMAZAKI ได้อธิบายไว้ดังนี้ WISDOM KNOWLEDGE INFORMATION DATA
9
ประเภทของความรู้ MICHAEL POLAYI AND IKUJIRO 1. TACIT KNOWLEDGE 2. EXPLICIT KNOWLEDGE
10
EXPLICIT KNOWLEDGE 20% TACIT KNOWLEDGE 80%
11
EXPLICIT KNOWLEDGE TACIT KNOWLEDGE เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ทำให้เกิดความรู้ใหม่ โดยผ่าน
12
KNOWLEDGE SPIRAL TACIT
EXPLICIT SOCIALIZATION EXTERNALIZATION INTERNALIZATION COMBINATION KNOWLEDGE SPIRAL ที่มา:วงจรจัดการความรู้จากทฤษฎีสู่การปฎิบัติ บุญดี บุญญกิจและคณะ
13
ทำไมต้อง KM.?
14
1.ปัญหาจากการปฏิบัติงาน
คนย้ายไปแล้วทำงานไม่ถูก ทำไม่ได้ถามใครดี เจ้าหน้าที่ไม่มา ตามงานไม่ได้ ทำแต่แบบเดิม ๆ ไม่รู้จะพัฒนา? เรื่องนี้ต้อง พ.จ.อ.สันติ เท่านั้น ปัญหาการรับสมัครต้องถามชุดเดิม คู่มือไม่มี ทุกอย่างอยู่ในหัวผม
15
2.ปัญหาจากการออกจากงาน
ลาออก ให้ออก ปลดออก ไล่ออก เกษียณ
16
กรุณา เปิดใจ และ KM. ไม่มีชั้นยศ
17
ความหมายของ KM. RYOKO TOYAMA KM.หมายถึงการจัดการเพื่อเอื้อให้เกิดความรู้ใหม่ โดยใช้ความรู้ที่มีอยู่และประสบการณ์ของคนใน องค์การอย่างมีระบบเพื่อพัฒนานวัตกรรมที่จะทำ ให้มีความได้เปรียบเหนือคู่แข่งทางธุรกิจ
18
ความหมายของ KM.(ต่อ) WORLD BANK KM.หมายถึงการรวบรวมวิธีปฏิบัติขององค์การ และกระบวนการที่เกี่ยวกับการสร้าง การนำมาใช้ การเผยแพร่ความรู้และบริบทต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินธุรกิจ
19
สรุปความหมายของ KM. KM.เป็นกระบวนการในการนำความรู้ที่มีอยู่หรือ ที่ได้จากการเรียนรู้ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อองค์การ โดยกระบวนการต่างๆเช่น ***การสร้าง ***แลกเปลี่ยน ***รวบรวม ***ใช้ ***จัดเก็บ
20
วงจรการจัดการความรู้
มีองค์ประกอบหลัก 6 องค์ประกอบคือ -1. การจัดการให้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วทั้งองค์การ -2. การสื่อสาร - สื่อให้เข้าใจว่า *องค์การกำลังทำอะไร *ทำเมื่อไร *ทำเพื่ออะไร *ทำอย่างไร
21
วงจรการจัดการความรู้(ต่อ)
-3. กระบวนการและเครื่องมือ *ช่วยให้กระบวนการความรู้เกิดขึ้นได้ สะดวกและรวดเร็ว *เลือกใช้ให้เหมาะสมระหว่าง TACIT KNOWLEDGEกับEXPLICIT KNOWLEDGE ส่วนเครื่องมือมี 2 ส่วนคือ *เกี่ยวกับ IT *ไม่เกี่ยวกับ IT
22
IT จะเข้ามาเกี่ยวข้องในขั้นตอน
-ค้นหา -รวบรวม -จัดเก็บ และ... -เข้าถึง IT จะช่วยให้การแลกเปลี่ยนความรู้ประเภท EXPLICIT KNOWLEDGE ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
23
วงจรการจัดการความรู้(ต่อ)
-4. การฝึกอบรมและการเรียนรู้ *อบรมแนวทางและหลักการของ KM แก่ บุคลากรเพื่อสร้างความเข้าใจและตระหนัก ถึงความสำคัญของ KMและแลกเปลี่ยน ความรู้ในองค์การ *ชี้ให้เห็นประโยชน์ของ KM *นำเทคโนโลยีใหม่มาใช้
24
วงจรการจัดการความรู้(ต่อ)
-5. การวัดผล *วัตถุประสงค์ที่แท้จริง *ไม่ใช่เป็นการควบคุมหรือการให้โทษแต่... *เป็นการบริหารจัดการและเรียนรู้พัฒนา การวัดผลเป็นปัจจัยสำคัญในการริเริ่ม KM ใน องค์การให้สำเร็จแบบยั่งยืน
25
วงจรการจัดการความรู้(ต่อ)
-6.ยกย่องชมเชยให้รางวัล
26
แล้วเราจะทำ KM อย่างไร?
27
KNOWLEDGE PROCESS 1.-การค้นหาความรู้ -องค์การมีความรู้อะไร? -รูปแบบใด? -อยู่ที่ใคร? -ความรู้อะไรที่องค์การต้องมี? ใช้ KNOWLEDGE MAPPING เป็นเครื่องมือ วางกรอบของ KM
28
KNOWLEDGE PROCESS(ต่อ) 2.-การสร้างและแสวงหาความรู้
จาก KNOWLEDGE MAPPING รู้ว่ามีความรู้อะไร รู้ว่าไม่มีความรู้ที่จำเป็นต้องมี -ดึงความรู้ที่มีมารวบรวม จัดทำให้ตรงกับความต้อ การของผู้ใช้ -สร้างความรู้จากความรู้เดิมโดย การแลกเปลี่ยนหรือนำจากภายนอก -ไม่จำเป็นตัดทิ้ง
29
KNOWLEDGE PROCESS(ต่อ) 3.-การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ - จัดทำสารบัญ
- จัดหมวดหมู่แยกประเภท - ค้นหาได้สะดวก - ใช้ประโยชน์ได้ง่าย/รวดเร็ว
30
KNOWLEDGE PROCESS(ต่อ) 4.-การประมวลและกลั่นกรองความรู้
- จัดทำเอกสารให้ได้มาตรฐาน - ใช้ภาษาเดียวกันทั่วทั้งองค์การ - จัดให้ผู้ใช้สามารถค้นหาและเปิดใช้ได้ สะดวก - ตัดต่อเนื้อหาให้ครบถ้วนทันสมัยตรงกับความ ต้องการของผู้ใช้
31
KNOWLEDGE PROCESS(ต่อ)
5.-การเข้าถึงความรู้ โดยทั่วไปมี 2 ลักษณะคือ 1. การป้อนความรู้ - ไม่ต้องร้องขอเรียกว่า SUPPLY-BASED เช่น หนังสือเวียน 2. การให้โอกาสใช้ความรู้ ผู้ใช้เลือกใช้เฉาะข้อมูล/ความรู้ที่ต้องการ เท่านั้น (DEMAND-BASED)
32
KNOWLEDGE PROCESS(ต่อ)
6.-การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ **จัดทำเอกสาร **จัดทำฐานข้อมูล ** จัดทำสมุดหน้าเหลือง โดยนำเทคโนโลยีมาใช้ จะช่วยให้เข้าถึงความรู้ ได้ง่ายและรวดเร็ว **ใช้ได้ดีกับ EXPLICIT KNOWLEDGE เท่านั้น **ส่วน TACIT KNOWLEDGE ต้องใช้ กระบวนการ SOCIALIZATION
33
KNOWLEDGE PROCESS(ต่อ)
7.-การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับทิศทาง/ค่านิยม ขององค์การ **วัตถุประสงค์หลักของ KM. คือการ เรียนรู้ของบุคคลและการนำความรู้นั้นไปใช้ -ตัดสินใจ -แก้ปัญหา -ปรับปรุงองค์การ ทุกข้อทำได้ดีแต่ขาดข้อ 7ทุกอย่างก็สูญเปล่า
34
สรุป KNOWLEDGE PROCESS
1.ค้นหา 6.แบ่งปัน 2.สร้างแสวงหา 7.การเรียนรู้สอด คล้องกับทิศทาง/ ค่านิยขององค์การ 3.จัดระบบ 4.กลั่นกรอง 5.เข้าถึง
35
วงจรการเรียนรู้ องค์ความรู้ องค์ความรู้ เรียนรู้และนวัตกรรอย่างต่อเนื่อง เกิดการเรียนรู้และ ประสบการณ์ใหม่ นำความรู้ไปใช้
36
ปัจจัยที่ทำให้ KM. ประสบความสำเร็จ
1. LEADERSHIP AND STRATEGY **ผู้นำต้องเข้าใจ เข้าถึงและตระหนักถึง ประโยชน์ที่องค์การจะได้รับจาก KM. **สื่อสารและผลักดันให้มี KM.ในองค์การ **กำหนดทิศทางและกลยุทธ์ของ KM. ให้ชัดเจน ต้องตอบคำถามเหล่านี้ให้ได้
37
. การจัด KM. ในองค์การเพื่ออะไร?
-นำผลมากำหนดแผนและกิจกรรมเพื่อช่วย ให้องค์การสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ตาม ที่กำหนดไว้
38
ปัจจัยที่ทำให้ KM. ประสบความสำเร็จ(ต่อ)
2. CULTURE **BOB BUCKMAN กล่าวไว้ว่า กิจกรรมทางด้าน KM. เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ วัฒนธรรมขององค์การโดยตรง **สิ่งสำคัญที่จะช่วยให้องค์การบรรลุผล สำเร็จใน KM. คือวัฒนธรรมในการแลก เปลี่ยนและแบ่งปันความรู้ระหว่างบุคคลในองค์การ
39
ทัศนคติที่เป็นอุปสรรคคือการมีทัศนคติที่ว่า
* ความรู้คืออำนาจ กลัวหมดอำนาจจึงไม่แบ่งปัน/แลกเปลี่ยนกับใคร * มองคนอื่นว่าอวดรู้ *กลัวเขาว่าจึงไม่บอก ผู้บริหารจะต้องสนับสนุนอย่างเติมที่เพื่อให้ บุคลากรในองค์การตระหนักถึงความสำคัญและ ความจำเป็นในการแลกเปลี่ยนความรู้
40
ปัจจัยที่ทำให้ KM. ประสบความสำเร็จ(ต่อ)
3. TECHNOLOGY **ระบบอินเตอร์เน็ต ** อินทราเน็ต **ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย **IT มีส่วนช่วยให้ KM. มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
41
ปัจจัยที่ทำให้ KM. ประสบความสำเร็จ(ต่อ)
4. MEASUREMENTS **องค์การไม่สามารถทราบสถานะที่แท้ จริงได้ถ้าไม่มีการวัดผล **การวัดผล KM. ช่วยให้องค์การสามารถ -ทบทวน -ประเมินผล -ปรับปรุงกลยุทธ์และกิจกรรมต่างๆ บรรลุเป้าหมายของ KM.ได้
42
ปัจจัยที่ทำให้ KM. ประสบความสำเร็จ(ต่อ)
5. INFRASTRUCTURE **ที่จับต้องได้ -สถานที่ -เครื่องมือต่างๆ เอื้อต่อการ แลกเปลี่ยน เรียนรู้ **ที่จับต้องไม่ได้ -โครงสร้างของหน่วย -ระบบงาน -ระบบ HRM. -โครงสร้างของคนใน KM -ระบบการประเมินผลงาน -ระบบการยกย่องชมเชย รางวัล
43
ช่วงปัญหาคับอกคาใจ สวัสดีครับ....
44
LO คืออะไร?
45
Dr. PETER M. SENGE LO หมายถึงที่ซึ่งคนในองค์การได้ขยายขอบเขตความสามารถของตนอย่างต่อเนื่องทั้งใน - ระดับบุคคล - ระดับกลุ่มและ - ระดับองค์การ
46
เพื่อนำไปสู่จุดหมายที่บุคคลในระดับต่างต้องการอย่างแท้จริง
* เป็นองค์การที่มีความคิดใหม่ๆและมีการแตก แขนงของความคิดที่ได้รับการยอมรับและเอาใจ ใส่ * เป็นองค์การที่บุคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องในเรื่อง ของการเรียนรู้วิธีการที่จะเรียนรู้(LEARNING HOW TO LEARN)
47
Dr. J. MARQUARDT LO หมายถึงที่ซึ่งมีบรรยากาศของการเรียนรู้รายบุคลและกลุ่มมีการสอนคนของตนให้มีกระบวนการคิดวิเคราะห์เพื่อช่วยให้เข้าใจในสรรพสิ่ง ขณะเดียวกันทุกคนก็ช่วยองค์การ โดยการเรียนรู้จากความผิดพลาดและความสำเร็จ ซึ่งส่งผลให้ทุกคนตระหนักในการเปลี่ยนแปลงและปรับตัวได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
48
สรุป LO หมายถึงองค์การที่ทำให้สมาชิกทุกคนมีอิสระ มีความกระตือรือร้นในการที่จะเรียนรู้สิ่ง ต่างๆอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาทั้งจากความสำเร็จและความล้มเหลวในการทำงาน โดยผ่านกระบวนการ KM. ก่อให้เกิดความรู้นวัตกรรมใหม่ๆขึ้น นำไปปรับปรุงใช้ให้เกิดประโยชน์ในการทำงาน หมุนวนในลักษณะนี้ไม่จบสิ้น
49
จากความหมายของ LO แสดงว่า LO
มีกระบวนการอะไรบ้างมาเกี่ยวข้อง? KNOWLEDGE KNOWLEDGE MANAGEMENT
50
LEARNING ORGANIZATION:LO
WILBORN AND CHENG 1994:132 APPROPRIATE STRUCTURE(มีโครง สร้างที่เหมาะสม) -สายบังคับบัญชาสั้น ยืดหยุ่น คล่องตัว -มี JOB DESCRIPTION ที่ยืดหยุ่นต่อ การสร้างทีมงาน ****เข้าลักษณะ จิ๋วแต่แจ๋ว ****
51
LEARNING ORGANIZATION:LO
2. CORPORATE LEARNING CULTURE ( มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ในองค์การ) - LO. จะไม่รู้จักคำว่า “ ทดสอบแล้วล้มเหลว ตราบเท่าที่มีการเรียนรู้จากการกระทำ บุคคลจะจะมีนิสัยใฝ่รู้ ค้นคว้าและเผยแพร่ ต่อกันฉันมิตร
52
ลักษณะของ LO.(ต่อ) -มีแรงจูงใจในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ - ผู้บริหารสนับสนุนทั้งเงินและขวัญกำลังใจ
53
ลักษณะของ LO.(ต่อ) 3. EMPOWERMENT(การเพิ่มอำนาจในการ ปฏิบัติงาน) - เปิดโอกาสให้บุคคลสามารถเรียนรู้และ อิสระในการตัดสินใจ - ลดความรู้สึกที่ต้องพึ่งพาคนอื่นในการ แก้ปัญหา ขยายความสามารถในการเรียนรู้ของตน ให้เต็มศักยภาพ
54
ลักษณะของ LO.(ต่อ) ผลักความรับผิดชอบและการตัดสินใจใน การแก้ปัญหาให้ระดับล่างสุดในฐานะที่เป็น ผู้รู้ดีให้มากที่สุด 4. ENVIRONMENTAL SCANNING(มีการ ตรวจสอบ) - ตรวจสอบ คาดคะการเปลี่ยนแปลงที่มีผล กระทบต่อสภาพแวดล้อมขององค์การ
55
ลักษณะของ LO.(ต่อ) ไหวตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง - แสดงท่าทีในธุรกิจให้มีนัยสำคัญต่อสังคม - เลือกเป้าหมายในสภาพแวดล้อมที่องค์การ จะมีปฏิสัมพันธ์ด้วย
56
ลักษณะของ LO.(ต่อ) 5. KNOWLEDGE CREATION AND TRANSFER(ทุกคนมีส่วนสร้างและถ่ายโอน ความรู้) ทุกคนมีหน้าที่สร้าง KNOWLEDGE INNOVATION มิใช่มีหน้าที่เพียง R D (RESEARCH DEVELOPMENT) หรือ C D (COPY DEVELOPMENT)
57
ลักษณะของ LO.(ต่อ) -ทุกคนต้องเรียนรู้จากส่วนอื่นๆและฝ่ายอื่นๆ โดยผ่านช่องทางการสื่อสารและเทคโนโลยีต่างๆ มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างกัน
58
ลักษณะของ LO.(ต่อ) 6. LEARNING TECHNOLOGY. (มีเทค โนโลยีสนับสนุนการเรียนรู้) - มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการ ปฏิบัติงานทั่วทั้งองค์การ - สร้างเครือข่ายและฐานข้อมูล มีการเก็บข้อมูล ถ่ายทอดอย่างรวดเร็ว
59
ลักษณะของ LO.(ต่อ) 7. QUALITY. (มุ่งเน้นคุณภาพ) - จะพัฒนาคุณภาพตามคุณค่าใน สายตาของผู้รับบริการโดยไม่มีคำว่า “ ต่อรอง” คุณภาพเสมือนหนึ่งศาสนาที่จะได้รับ การยอมรับโดยไม่มีข้อกังขา
60
ลักษณะของ LO.(ต่อ) 8. STRATEGY. (เน้นความมีกลยุทธ์) - กระบวนการเรียนรู้ของ LO.จะเป็นไป อย่างมีกลยุทธ์ทั้งในด้านของ ** การยกร่าง ** การดำเนินการและ ** การประเมิน ****ผู้บริหารเป็นผู้เกื้อหนุนมากกว่าผู้กำหนด แนวทางปฏิบัติหรือมีคำตอบไว้ให้****-
61
ลักษณะของ LO.(ต่อ) SUPPORTIVE ATMOSPHERE. (บรรยากาศเกื้อหนุน) ** มุ่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ปฏิบัติงาน ** เคารพศักดิ์ความเป็นมนุษย์ ** อดทนต่อความแตกต่าง ** ยอมรับความหลากหลาย ** เท่าเทียม เสมอภาค อิสระ มีส่วนร่วม ** ปชต.
62
ลักษณะของ LO.(ต่อ) 10. TEAMWORK.(ทำงานเป็นทีม) ** ส่งเสริมความร่วมมือ ** สร้างการแข่งขัน ** สร้างพลังร่วมเครือข่ายทรัพยากรทั้ง ในทีมและนอกทีม ** สร้างพันธมิตรในการดำเนินธุรกิจ ** ยืดหยุ่น
63
ลักษณะของ LO.(ต่อ) 11. VISIONร่วม (มีวิสัยทัศน์) ** เป็นตัวผลักดันให้การปฏิบัติงานมุ่งสู่ เป้าหมายอย่างมีเจตจำนงค์และ... ** ผูกพันบนพื้นฐานของ ค่านิยม ส่งผลให้ร่วมกัน ทำกิจกรรมที่มีจุด หมายเดียวกัน ปรัชญา ความเชื่อ
64
ลักษณะของ LO. ตามแนวคิดของ Dr. PETER SENGE (1994:126) 1. PERSONAL MASTERY ** เป็นเจ้านายตนเอง ** เรียนรู้ตลอดเวลาด้วยจิตสำนึก ** มีวิสัยทัศน์ของตนเอง
65
ลักษณะของ LO.(ต่อ) ** ใฝ่ใจพัฒนาตนอย่างต่อเนื่องบน พื้นฐานของความต้องการที่แท้จริง หรือบนวิสัยทัศน์ของแต่ละคน 2. MENTAL MODELS ** พัฒนาวิธีและรูปแบบความคิด ใช้การ วางแผนเป็นกระบวนกา เรียนรู้
66
ลักษณะของ LO.(ต่อ) ** ฝึกทักษะในการพิจารณา ** คิดตั้งคำถาม ** รับรู้และเข้าใจสภาพความเป็นจริง ทำ ให้สามารถเชื่อมโยงการกระทำของตน สอดคล้องกับการเปลี่ยนของโลก ** ไม่ยึดติดกับความคิดและความเชื่อเก่าๆ
67
ลักษณะของ LO.(ต่อ) เป้าหมายของ MENTAL MODELS คือ ต้องการให้เกิดแนวคิดของแต่ละคนหลัง จากมีการเรียนรู้ระดับบุคคลแล้ว เพื่อนำไปสู่ การมีวิสัยทัศน์ร่วม 3. SHARED VISION ** ทำให้มีส่วนร่วมในการสร้างวิสัยทัศน์
68
ลักษณะของ LO.(ต่อ) ** สื่อให้รับรู้ทุกระดับทั่วทั้งองค์การว่า -องค์การมีวิสัยทัศน์อย่างไร? - เป้าหมายคืออะไร? ต้องซึมซบลงไปในความคิดของทุก คนในองค์การ
69
ลักษณะของ LO.(ต่อ) ** ทำได้ยากแต่ต้องสร้างให้เกิดขึ้น โดย -ใช้กระบวนการพูดคุยหารือ - ประสานความเห็นและแนวคิด
70
ลักษณะของ LO.(ต่อ) หลักการในการสร้างวิสัยทัศน์ร่วม 1. กระตุ้นให้แต่ละคนสร้างวิสัยทัศน์ของตนเอง 2. พัฒนาวิสัยทัศน์ส่วนบุคคลให้เป็นวิสัยทัศน์ ร่วม 3. สร้างทัศนคติต่อวิสัยทัศน์ในความผูกพันให้ มากที่สุดเพื่อให้เกิดพฤติกรรมโดยไม่ต้อง ควบคุม
71
หลักการในการสร้างวิสัยทัศน์ร่วม(ต่อ)
4. ทำให้วิสัยทัศน์ร่วมเป็นทิศทางไปสู่จุดหมาย ที่เห็นได้ชัดเจนและจับต้องได้ 4. TEAM LEARNING -แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิกเพื่อพัฒนา ความรู้ของทีม -ถ่ายทอดความรู้ซึ่งกันและกัน -กระตุ้นให้มีการอภิปรายในทีมอย่างแตกฉาน
72
แต่ละคนเรียนรู้ด้วยตนเอง
แต่ละคนเรียนรู้ซึ่งกันและกันและ.... แต่ละคนเรียนรู้ด้วยด้วยกัน
73
หลักการเรียนรู้เป็นทีม
1. การสนทนาและอภิปราย 2. การยอมรับทุกคนเป็นเพื่อนร่วมงาน 3. การเรียนรู้สภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน 4. การเรียนรู้วิธีปฏิบัติ 5. SYSTEMS THINKING *คิดให้ครอบคลุม รอบด้าน *เห็นความสัมพันธ์และเชื่อมโยงของระบบ ย่อยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับงาน
74
*เรียนรู้จากประสบการณ์-จากบุคคลอื่นแล้ว
บูรณาการเป็นองค์ความรู้ใหม่ ****SYSTEM THINKING เป็นหัวใจของ LO. และมีส่วนสำคัญต่อการสนับสนุนให้เกิดการ เรียนรู้และจะนำมาซึ่งการพัฒนาแบบยั่งยืน****
75
ช่วงปัญหาคับอกคาใจ สวัสดีครับ....
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.