งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สาเหตุโดยทั่วๆที่ทำให้วัสดุหรือชิ้นส่วนเกิดการเสียหาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สาเหตุโดยทั่วๆที่ทำให้วัสดุหรือชิ้นส่วนเกิดการเสียหาย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สาเหตุโดยทั่วๆที่ทำให้วัสดุหรือชิ้นส่วนเกิดการเสียหาย
การขับขี่ที่ไม่ถูกต้อง ประกอบด้วยเทคนิคการเข้าเกียร์ เปลี่ยนเกียร์สะเปะสะปะ / ไม่ถูกต้อง ใช้คลัตช์ไม่ถูกต้อง ลากเกียร์มากเกินไป ขับรถเร็วเกินไปบนเส้นทางที่ขรุขระ

2 การบำรุงรักษา / การปรับแต่งไม่ดี
การบรรทุกเกินอัตรา เพลา / ระบบกันสะเทือน การบำรุงรักษา / การปรับแต่งไม่ดี วัสดุหรือชิ้นส่วนเคลื่อนที่ต่าง ๆ ต้องการการหล่อลื่น การปรับแต่งตามระยะเพื่อทำงานได้อย่างถูกต้อง การขาดอย่างใดอย่างหนึ่งทำให้เกิดการสึกหรอผิดปกติ

3 ความเสียหายของวัสดุหรือชิ้นส่วน
รูปแบบการเสียหาย มี 4 รูปแบบ ความเสียหายจากการล้าตัว ( FATIGUE ) 1 การเสียหายจากการกระแทก / การกระชาก ( IMPACT / SHOCK ) 2 ความเสียหายจาการสึกหรอ จากการเสียดสี ( ABRASIVEWEAR ) 3 ความเสียหายจากการกัดกร่อน (CORRSION) 4

4 ความเสียหายของชิ้นส่วนชิ้นส่วนรถบรรทุก ลูกศรแสดงทิศทางการกระทำของแรง
เพราะภาระต่าง ๆ ( LOAD ) ที่กระทำต่อชิ้นส่วนรถบรรทุกจะแปร ผัน ไปตามปริมาณและความถี่ของแรงทิศทางการหมุนและความเร็ว ลูกศรแสดงทิศทางการกระทำของแรง แรงดัด BENDING แรงบิด TORSIONAL

5 ลูกศรแสดงทิศทางการกระทำของแรง
แรงสัมผัส CONTACT แรงเฉือน SHEAR

6 ความเสียหายจากการล้าตัว( FATIGUE FAILURE )
แรงดัด BENDING แรงบิด TORSIONAL ความเค้นจาการสัมผัส CONTACT STRESS ความเค้นจากความร้อน THERMAL STRESS

7 ความล้าตัว( FATIGUE ) เมื่อแรงที่มากพอกระทำต่อโลหะ ซึ่งการเปลี่ยนรูปไปจากเดิมเกิดขึ้น  เนื่องจากรูปแบบของผลึกลื่นไหล  จัดแบบใหม่ โลหะนั้นจะอ่อนแอลงมากถึงระดับที่แปรผันไปตามแรงกระทำ เมื่อการกระทำซ้ำกันหลายครั้งของแรงกระทำค่อย ๆ ลดความแข็งแรง ของโลหะลงมาจนกระทั่งเกิดรอยแตกร้าว ณ จุดที่เกิดความเค้นมากที่สุด เป็นการกระทำเริมต้น

8 ความเค้น ( STRESS ) ทำให้รอยแตกร้าวขยายตัวมากขึ้น ในขณะที่รอยแตกร้าวขยายตัวมากขึ้นเรื่อย ๆ โลหะซึ่งทนความเค้นได้น้อยลงเรื่อย ๆ จนในที่สุด เกิดการแตกหัก / การแยกตัวโลหะ / ชิ้นส่วนจะแสดงให้ทราบคุณลักษณะของการแตกหักว่า  การแตกหักจากภาระกระแทก ( IMPACT / LOAD )  จากภาระการกระชาก ( SHOCK LOAD )

9 โลหะที่มีความแข็งสูง
บริเวณผิวเรียบและเป็นมันแสดงจุดเริ่มต้นของการล้าตัว ต้องใช้ไมโครสโคป / เครื่องมือกำลังขยายสูงมากเพื่อจะได้มอง เห็นริ้วรอยชายหาด / ความคืบหน้าของรอยแตกร้าว หมายเหตุ การปรากฎให้เห็นของบริเวณผิวที่เป็นมันและเรีบยเป็น คุณลักษณะโดยเฉพาะของความเสียหายจากการล้าตัวในโลหะที่มี แข็งสูงความ

10 ตัวอย่างการกระแทก / การกระชาก

11 ความล้าตัวด้วยแรงดัด ( BENDING FATIGUE )

12  บรรทุกหนักเกินแรงดัด
ความเสียหายจากการล้าตัวด้วยแรงดัดเป็นผลของการทำงาน ต่อเนื่องของวัสดุ  บรรทุกหนักเกินแรงดัด  การที่ไม่ได้ศูนย์ ( misalignment )จะเริ่มต้น ณ จุดพื้นผิวที่ อ่อนแอมากที่สุด  รอยขนแมว รอยขีดข่วนหรือเป็นแผล  ในที่สุดจะปรากฎผลให้เห็นในความเสียหายหลังสุดริ้วรอย ที่ขอบนอกจะวิ่งขวางส่วนที่แตกหักจากความล้าตัวด้วยแรงดัด

13 ความล้าตัวด้วยแรงดัด ( BENDING FATIGUE )

14 ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับก้านสูบ ( Connecting rod )
สาเหตุการเสียหาย  โบลต์ก้านสูบหลวม ( เพราะหน้าสัมผัสของนอตเป็นรอยถู ) ในขณะที่โบลต์สูญเสียการยึด ( Clamp load ) และผิวภายนอกของ โบลต์เสียหายในลักษณะถูกกระแทก ความเสียหายจากความล้าตัว ด้วยแรงดัด ( ความโก่ง ) “ เป็นริ้วรอยชายหาด(Beach marks) ” ตามแนวขวางของโบลต์

15 ความล้าตัวด้วยแรงดัด ( BENDING FATIGUE )

16 ซึ่งยอมให้เกิดการไม่ได้ศูนย์ ส่วนใหญ่ จะทำให้เกิดความเสียหาย
การไม่ได้ศูนย์ ( misalignment ) หรือการหลวมของแบริ่ง ซึ่งยอมให้เกิดการไม่ได้ศูนย์ ส่วนใหญ่ จะทำให้เกิดความเสียหาย จากการล้าตัวด้วยแรงดัด  แรงดัดแท้จริงหรือการโก่งตัวของชิ้นส่วนพบในชิ้นส่วน ที่ไม่สามารถให้ตัวได้  ความเสียหายแบบนี้ส่วนมากเริ่มต้นมาจาก - บริเวณมุมข้อ ( fillrt ) เพลาข้อเหวี่ยง - ร่องลิ่ม ( keyway ) - รูที่เจาะไว้

17 ความล้าตัวด้วยแรงบิด ( TORSIONAL FATIGUE )

18 ความเสียหายจากความล้าตัวด้วยแรงบิด ( TORSIONAL FATIGUE )
เป็นผลมาจากขนาดของแรงบิด ซึ่งมีค่ามากกว่าความแข็งแรงที่ออก แบบไว้ของวัสดุนั้น เพลาของกระปุกเกียร์ (TRANSMISSION SHAFTS ) - เพลาข้าง (AXLE SHAFTS ) -เพลากลาง (PROPELLER SHARTS / DRIVELINNES) ทอร์ชั่นบาร์ (TORSION BARS) การเกิดการเสียหายในขณะที่เพลาถูกบิด จะเกิดความเค้นข้างหน้าและข้างหลังพร้อมแรงกระทำมากเกินไปและอาจ ส่งผลไปสู่การแยกตัวของโลหะจึงทำให้เริ่มเกิดรอยแตกร้าวขึ้น

19 ร่องลิ่ม ( KEYWAYS ) หรือจำปา ( SPLINES )
ที่ได้ทำไว้ในเพลารอยแตกร้าวจากการล้าตัวด้วยแรงบิดจะเริ่มต้นขึ้นที่ฐานของ จำปาหรือร่องลิ่ม และอาจส่งผลไปหาจุดศนย์กลางของเพลา การเริ่มต้นของความเสียหายจาการล้าตัวด้วยแรงบิด เพลาราวเกียร์บน (TRANSMISSION MAINSHAFTS ) โลหะเหนียว (DUCTILE METALS)

20 โลหะทนแรงดึงสูง (HIGH TENSILE METALS)
ในขณะที่โลหะอ่อนแอลงเนื่องจากรอยแตกร้าวได้ยาวขึ้นและลึกขึ้นชิ้นส่วน ที่อ่อนแอลงไวต่อความเสียหายจากาการกระแทก / การกระชากภายใต้การ กระทำของภาระ (LOAD) ปานกลางถึงน้อย

21 ความล้าตัวด้วยแรงบิด ( TORSIONAL FATIGUE )
เพลาข้าง (AXLE SHAFT)

22 เพลาข้างของรถบรรทุกคันเดียวกัน
รูป “ A ” เป็นตัวอย่างของความเสียหายจากความล้าตัวด้วยแรงบิดใน เพลาข้าง รูป “ B ” ลูกศรที่ชี้บนเพลา “ B ” แสดงจุดที่เกิดรอยแตกร้าวจากความ ล้าตัวด้วยแรงบิด หมายเหตุ ถ้านำเพลา “ B ” มาใช้งานต่อไปอีก อาจจะเกิดความเสียหาย ในระยะเวลาอันรวดเร็วโดยจะเสียหายในลักษณะเดียวกับเพลา “ A ”  ควรตรวจสอบเพลาด้านตรงข้าม เพื่อหารอยแตกร้าวที่อาจจะ เกิดขึ้นตามผิวของเพลาและที่ฐานของจำปา (SPLINE)

23 ความล้าตัวด้วยแรงบิด ( TORSIONAL FATIGUE )
เพลาต่อสั้น (STUB SHAFT) ของเพลากลาง

24 แสดงรอยแตกร้าวด้วยความล้าตัวด้วยแรงบิด เริ่มต้นที่ฐาน (โคน)
เพลาต่อสั้นของเพลากลาง แสดงรอยแตกร้าวด้วยความล้าตัวด้วยแรงบิด เริ่มต้นที่ฐาน (โคน) ของจำปาและส่งผลไปสู่จุดศูนย์กลางของเพลา ในขณะเดียวกันก็ ขยายตัวไปตามความยาวของเพลาลักษณะผิวปลายที่แตกหักด้วยการ กระแทก / การกระชาก หมายเหตุ  ความเสียหายจากการล้าตัวด้วยแรงบิดมักพบทั่วไป ในรถบรรทุกซึ่งบรรทุกเกินอัตราที่กำหนด 

25 ความล้าตัวด้วยแรงบิด ( TORSIONAL FATIGUE )
การแตกหักของสปริง ( COIL SPRING )

26 การแตกหักของสปริงขด โดยปกติเป็นความเสียหายแบบล้าตัวด้วยแรงบิดส่วนมากเป็นผลของการใช้รถที่ บรรทุกเกินอัตราด้วยความเร็วสูงบนถนนที่ขรุขระ ความเสียหายหลังสุดอาจเกิดขึ้นโดยไม่มีภาระ (load) ที่ความเร็วต่ำบนถนนเรียบ ข้อสังเกต : การเป็นสันและการเป็นตามดไปทั้งผิวหน้าของความเสียหายแบบนี้ โดยปกติเกิดขึ้นที่ระยะทางวิ่งน้อย

27 ความล้าตัวด้วยความเค้นจากการสัมผัส
( CONTACT STRESS )

28 ความเค้นจากแรงสัมผัส
 ความเสียหายของผิวหน้าของฟันเฟืองเดือยหมู  ความเค้นจากแรงสัมผัสอาจเกิดเมื่อฟันเฟืองเหล่านี้ได้รับภาระเกินอัตราซ้ำกันหลายครั้ง - การอ่อนตัวจากการกระทำของภาระ (load) ในแนวขวางของผิวฟันเฟือง - ทำให้บริเวณผิวเกิดรอยแตกร้าวและแยกออกจากกันในที่สุด  ต้นเหตุของความเสียหายมีสาเหตุมาจากแรงกระตุก / แรงกระชากที่กระทำต่อเฟือง  - ออกรถกระชากขณะบรรทุกสินค้าเกินอัตรา - ดิ้นขึ้นจากหลุม  ผลกระทบที่เกิดขึ้น ชิ้นส่วนที่แตกหักสามารถหมุนไปตีส่วนอื่นทำให้เกิดความเสียหายอย่างมากต่อลูก ปืนและผิวสัมผัส

29 ความล้าตัวด้วยความเค้นจากความร้อน ( THERMAL STRESS FATIGUE )

30 ความล้าตัวด้วยความเค้นจากความร้อน / เรียกว่า (heat cracking )
- เกิดขึ้นในกระทะเบรก ( brake drums ) - ล้อช่วยแรง / ฟลายวีล ( flywheel ) - ผ้าคลัตช์ ความร้อนที่เกิดขึ้นทำให้ชิ้นส่วนได้รับความเสียหายและความล้าตัว ด้วยความเค้นจากความร้อนเกิดขึ้นในผิวโลหะที่รับแรงกดสูงมากและ สลับกับร้อน – เย็น หมายเหตุ ความร้อนที่เกิดขึ้นทำให้ผิวเกิดรอยแตกร้าวหรืออาจ ถึงแตกและชั้นต่าง ๆ ของผิวจะขยาย ตัวเมื่อได้รับ ความร้อนและหดตัวเมื่อเย็นตัวลง

31 ความเสียหายจากภาระการกระแทก / กระชาก
IMPACT/SHOCK แรงดัด BENDING แรงบิด TORSIONAL แรงเฉือน SHEAR ความเสียหายแบบกระแทก / กระชาก - เป็นการแตกหักโดยทันทีและอย่างสมบูรณ์ของชิ้นส่วน - โดยปกติมีสาเหตุจากภาระ / (load) มากเกินไป - แรงที่กระทำ 1 ครั้งอย่างรวดเร็ว

32 การกระแทกด้วยแรงดัด

33 โครงสร้างของเม็ดเกรน (GRANULAR STRUCTURE)
ความเสียหายจากากรกระแทกอย่างแท้ ๆ สามารถทำนายได้ จากโครงสร้างเม็ดเกรน เนื่องจากความเสียหายในทางปฎิบัติเป็นการกระแทกในพริบตา เดียวโดยปกติจะมองไม่เห็นรอยแตกร้าวจากากรล้าตัว หรือความไม่ สมบูรณ์ของหน้าตัด ข้อสังเกตุ ถึงแม้ว่าความเสียมีต้นเหตุมาจากความล้าตัวและ คุณลักษณะของความเสียหายมองเห็นคล้ายจากการกระแทก

34 จุดเริ่มต้นของความเสียหาย ORIGINAL OF FAILURE

35 ความเสียหายจากากรกระแทก
ส่วนมากจะมองเห็นผิวที่เป็นมันและการตกผลึก โดยปกติจะเป็นมัน เมื่อนำมาคลึงในฝ่ามือ ผิวของชิ้นส่วนแตกหักที่เปราะมีลักษณะโดยเฉพาะ เกิดเป็นมาร์ก “ รูปตัว V หรือบั้งนายสิบ ” หรือ “ ก้างปลาเฮอริง ” ซึ่งชี้ไปหาจุดกำเนิดของการแตกหัก ควรสังเกตุถึงแม้ว่าการแตกหักจะเกิดขึ้นทั้งแบบแรงกระแทกและแบบ แรงเฉือนแต่การแตกหักแบบเดียวนั้นมีโอกาสเกิดขึ้นได้ยากมาก ในภาพแสดงถึงวัสดุแข็งเหนียวเสียหายเนื่องจากการกระทำของภาระ กระแทก

36 การกระชากด้วยแรงดัด

37 ชุดเฟืองเดือยหมูและเฟืองบายศรี
ถูกกระทำด้วยภาระกระชาก การแตกหักเกิดขึ้นเฉพาะบริเวณที่ถูกกระทำ ด้วยภาระกระชาก ความเสียหายโดยปกติมีสาเหตุมาจากเทคนิคการขับขี่ที่ไม่ถูกต้อง - ออกรถกระชากขณะบรรทุกเกินอัตรา - ดิ้นขึ้นจากหลุม

38 การกระแทกด้วยแรงบิด วัสดุที่แข็ง
เหล็กกล้าของเพลาข้าง การแตกหักจากการกระแทกด้วยแรงบิด โดยปกติเกิดขึ้น เป็นมุมที่ทำมุมกับแนวแกนของชิ้นส่วนนั้นและมองเห็นเม็ดผลึกที่มีผิวขรุขระ ลูกศรแสดงทิศทางการหมุนของเพลาข้าง

39 การกระแทกด้วยแรงบิด

40 เมื่อแรงบิดมากเกินไปกระทำต่อชิ้นส่วนอาจเกิดการแตกหักจากการ
กระแทกด้วยแรงบิดลักษณะเพลาที่กำลังหมุนได้ติดตายและไม่สามารถ เคลื่อนที่ได้แต่ในขณะที่แรงหมุนยังคงกระทำต่อไปในวัสดุ หลังจากนั้น การแตกหักจากการกระแทกด้วยแรงบิด การแตกหักสามารถแยกให้เห็นความแตกต่างไปจากการแตกหักจาก การกระแทกด้วยแรงดัด - โดยผิวที่แตกหักจะมองเห็นเป็นรอยวงกลม “ A ” ในรูป - มีปุ่มซึ่งปกติอยู่ใกล้จุดศูนย์กลางของชิ้นส่วน แสดงบริเวณที่แตกหัก หลังสุด “ B ” ในรูป

41 การกระแทกด้วยแรงเฉือน
(SHEAR FRACTURES)

42 การแตกหักหลังจากแรงเฉือน
อาจเปรียบเทียบได้กับการแยกตัวของกระดาษปึกหนึ่งเมื่อถูก มีดเฉือนจนกระทั้งขาดจากกัน  ความเสียหายจากการกระแทกไม่ใช่สาเหตุแต่เป็นผล  เมื่อปรากฎให้เห็นว่าเป็นความเสียหายจากการกระแทกต้อง ระมัดระวังในการค้นหาสาเหตุเบื้องต้นของความเสียหายเพราะบาง ครั้งไม่ใช่เป็นสาเหตุเบื้องต้นแต่เป็นผลหลังสุด ความสำเร็จของการค้นหาสาเหตุ วิเคราะห์องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องทั้งหมด อย่างสมบูรณ์และลึกซึ้ง

43 ความเสียหายจากการเสียดสี , ขูด , ครูด
(ABRASIVE FAILURES) การสึกหรอจากการเสียดสี เกิดขึ้นเมื่ออนุภาคแข็งลื่นไถลหรือกลิ้ง (ภายใต้ความดัน ) ผ่านผิว หน้าหรือผิวหน้าหนึ่งถูหรือเสียดสีกับอีกผิวหน้าหนึ่ง  ความเสียหายบริเวณผิวหน้าจากการเสียดสีมีหลายรูปแบบ - การเป็นรอยครูด - การเป็นรอยขีดข่วน - การเกาะติด / การเชื่อมติด - การเป็นสัน ฯลฯ

44 - ระยะห่างระหว่างชิ้นงาน “ ไม่เพียงพอ ”
 สาเหตุความเสียหายจากการเสียดสี - ระยะห่างระหว่างชิ้นงาน “ ไม่เพียงพอ ” - การขาดการหล่อลื่น / การมีสิ่งแปลกปลอมปรากฎอยู่  ความเสียหายจากการเสียดสี 1. ชิ้นส่วนเปลี่ยนสีไปจากเดิม (ไหม้เกรียม) / สึกหรอเนื่องจาก ความร้อนที่เกิดจากความเสียดทาน / ความฝืด 2. มีวัสดุ , เศษหรือสะเก็ด ฯลฯ จากชิ้นส่วนที่อยู่ใกล้ชิดปรากฎอยู่ 3. ผิวชิ้นส่วนสึกเป็นร่องไปตามทิศทางของการเคลื่อนที่

45 การเสียดสี (ABRASION)

46 การเสียดสี (ABRASION)
เกิดขึ้นร่วมกับการปรากฎอยู่ของสิ่งแปลกปลอม ซึ่งทำให้มีการ สึกเป็นร่องและการแตกบิ่น การสัมผัสของโลหะต่อโลหะและการเคลื่อนย้ายเนื้อวัสดุของ ชิ้นส่วนที่ใก้ลชิดกันได้ถูกแบ่งแยก “ การเกาะติด / การเชื่อมติด ”

47 การเกาะติด / การเชื่อมติด (ADHESION)
โลหะฉีกขาด การเกาะติด / การเชื่อมติด - การเป็นรอยขีดข่วน - การเป็นรอยครูด - การเป็นแผล - การติดตาย

48 งาน 2 ชิ้น เชื่อมต่อกันภายใต้ความดันและอุณหภูมิสูง
เป็นแผลที่เกิดขึ้นจากเม็ดเกรนของโลหะที่ยื่นมาสัมผัสระหว่างชิ้น งาน 2 ชิ้น เชื่อมต่อกันภายใต้ความดันและอุณหภูมิสูง วิธีกำจัดการเกาะติด / การเชื่อมติด ป้องกันไม่ให้เกิดการสัมผัสของโลหะต่อโลหะอย่างสมบูรณ์ การสึกหรอจากการเกาะติด / การเชื่อมติดจะไม่เกิดขึ้น เมื่อฟิมล์น้ำมัน (เยื่อน้ำมัน) ที่เกาะติดอยู่บนผิวหน้าแยกโลหะทั้งสองไม่ให้สัมผัสกัน

49 ความเสียหายจากการกัดกร่อน (CORROSION FAILURES)
การกัดกร่อนอย่างสม่ำเสมอ (UNIFORM CORROSION) การกัดกร่อนกัลวานิก (GALVANIC CORROSION) การกัดกร่อนเป็นลอน (FRETTING CORROSION) การกัดกร่อนจากอุณหภูมิสูง (HIGH TEMPERATURE CORROSION) การกัดกร่อนจากความเค้น (STRESS CORROSION) การกัดเซาะจากการเป็นโพรง (CAVITATION EROSION)

50 ความเสียหายจากการกัดกร่อน (CORROSION FAILURES)
หมายถึงการเสื่อมสภาพของสารเป็น “โลหะ” หรือคุณสมบัติของสารเนื่อง จากการทำปฎิกิริยากับสิ่งแวดล้อม ซึ่งทำให้ชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ชำรุดเสียหาย นำผลของการกัดกร่อนไปใช้งานในการวิเคราะห์

51 ความเสียหาย การกัดกร่อนมีถึง 6 แบบ
การกัดกร่อนอย่างสม่ำเสมอ การกัดกร่อนกัลวานิก การกัดกร่อนเป็นลอน การกัดกร่อนจากอุณหภุมิสูง การกัดกร่อนจากความเค้น การกัดเซาะจากการเป็นโพรง

52 การกัดกร่อนอย่างสม่ำเสมอ (UNIFORM CORROSION)
เป็นแบบธรรมดามากที่สุดของการกัดกร่อนเกิดขึ้นค่อนข้างสม่ำเสมอกันบนผิว หน้าทั้งหมดของวัตถุที่ไม่ได้ถูกป้องกันโดยมีสาเหตุจากปฎิกริยาเคมีธรรมดา การกัดกร่อนกัลวานิก(GALVANIC CORROSION) การกัดกร่อนกัลวานิก โลหะได้รับความเสียหายมากที่สุด การกัดกร่อนกัลวานิกเกิดขึ้นจาก องค์ประกอบ 2 ประการคือ การอยุ่ร่วมกันของโลหะต่างชนิด วิธีการต่อกันทางไฟฟ้า , อีเล็กโตรไลด์ ระหว่างโลหะ 2 ชนิด

53 อนุกรมกัลวานิก (galvanic series)
โลหะต่างชนิด โลหะที่มีโครงสร้างโมเลกุลหรือศักย์ไฟฟ้าแตกต่างกันเช่นเหล็กหล่อและอลูมิเนียม อนุกรมกัลวานิก (galvanic series) ใช้เพื่อแสดงความโน้มเอียงของการกัดกร่อนเมื่อโลหะต่างชนิดกันเข้าคู่กันทาง ไฟฟ้าในอนุกรมนี้ได้ชัด โลหะธรรมดา 7 ชนิด โลหะผสม (อัลลอย) เพื่อให้นำมาจับคู่กันตามกำหนด - โดยทางด้านล่างของรายการเป็นแคโทด และด้านบนของรายการเป็นแอโนด - ถ้าโลหะ 2 ชนิดต่อกันแบบอนุกรม จะผลิตกระแสไฟฟ้าขึ้นมาเล็กน้อย และเกิด การกัดกร่อนเล็กน้อยที่แอโนด อย่างไรก็ตาม - ถ้าโลหะทั้งสองถูกแยกห่างกันแบบอนุกรม แอโนดหรือโลหะทางด้านบนจะถูก กัดกร่อนมาก

54 การป้องกันไม่ให้เกิดการกัดกร่อนกัลวานิกระหว่างโลหะ 2 ชนิด
* เพื่อช่วยกระบวนการของการกัดกร่อน * จึงจัดให้มีอิเล็กโตรไลด์ เพื่อต่อวงจรให้สมบูรณ์คือโลหะ 2 ชนิด ก่อรูปเป็นเซลล์ไฟฟ้าตามความจำเป็นโดยผ่านอิเล็กโตรไลด์ * ชิ้นส่วนอลูมิเนียม หรือเหล็กหล่อ หรือมาร์ค การเป็นตามดบนผิวของโลหะชุบแข็ง การป้องกันไม่ให้เกิดการกัดกร่อนกัลวานิกระหว่างโลหะ 2 ชนิด มี 3 วิธี 1. ทำฉนวนไฟฟ้าคั่นระหว่างโลหะ 2 ชนิด 2. ควรออกแบบส่วนประกอบลักษณะที่ว่า เนื้อที่แคโทด (ลบ) ขนาดเล็กต่อเข้ากัเนื้อ ที่แอโนด (บวก) ขนาดใหญ่จ่ายกระแสไฟฟ้าที่แอโนด และป้องกันไม่ให้เกิดการ กร่อนร่อนอย่างรุนแรง 3. โลหะที่เป็นแอโนดสูง คือ อยู่ในระดับสูงในอนุกรมกัลวานิก ( เช่น แมกนีเซียม / สังกะสี ) * เหล็กกล้ายังคงปราศจากการกัดกร่อน *

55 การกัดกร่อนเป็นลอน รูปที่แสดงไว้เป็นองค์ประกอบบางประการและผลที่มีต่ออัตราการเกิดการกัดกร่อน เป็นลอน 1. ความเร็วหรือความถี่ 2. แอมปลิจูด (amplitude ) ของความถี่ 3. ภาระ (load ) 4. ภาระที่ไม่แน่นอน (fluctuating load )

56 วิธีการป้องกันการกัดกร่อนเป็นลอน (fretting corrosion ) ที่มีประสิทธิผลและ
เหมาะสมมากที่สุดมีดังต่อไปนี้ คือ : 1. เพิ่มภาระที่มากที่สุดเท่าที่จะทำได้บนชิ้นส่วนแบนที่ประกอบเข้าด้วยกันตึง พอดี 2. ลดภาระลงมากที่สุดเท่าที่ทำได้บนชิ้นส่วนแกว่งที่ประกอบเข้าด้วยกันตึง 3. ลดหรือเพิ่มการเคลื่อนที่ให้มากของชิ้นส่วนที่หมุน 4. ใช้สารหล่อลื่น (น้ำมันหล่อลื่นหรือจาระบี ) ที่ผสมสารเพิ่มคุณภาพป้องกัน สนิม และต้านทานออกซิเดชั่นในปริมาณมาก ซึ่งจะไหลอย่างคงที่โดยรอบ และป้องกันหน้าสัมผัสของชิ้นส่วนที่หมุน ถึงแม้ในระหว่างการเคลื่อนที่ น้อย มาก

57 การกัดกร่อนจากอุณหภูมิสูง ( High Temperature Corrosion )
แบบที่ 4 ของการกัดกร่อน เรียกกันว่า “ การกัดกร่อนจากอุณหภูมิสูง ” อุณหภูมิที่มีระดับสูงขึ้นสามรถเร่งปฎิกิริยาเคมีให้เร็วยิ่งขึ้น และผลการกัดกร่อน ของโลหะ ซึ่งโดยปกติเกิดเป็นสะเก็ดหรือออกซิเดชั่นของผิวหน้าก็ปรากฎเร็วยิ่ง ขึ้น นอกจากนี้ การกัดกร่อนแบบนี้ยังเป็นอันตราย อย่างมากต่อชิ้นส่วน ระบบไอเสียของรถยนต์ เราทราบกันน้อยมากเกี่ยวกับปรากฎของการกัดกร่อน จากอุณหภูมิสูงแต่กำลังทำการวิจัยเกี่ยวกับเรื่องนี้กันอยู่ การป้องกันการกัด กร่อนจากอุณหภูมิสูงสามารถทำให้สำเร็จได้โดยการเลือกใช้โลหะทนการกัด กร่อนและสารหล่อลื่นสำหรับการใช้อุณหภูมิสูง

58 การกัดกร่อนจากการความเค้น ( Stress Corrosion )

59 กัดกร่อนเป็นลอน (fretting corrosion) ในเรื่องรอยแตกราวจากความเค้น
แบบที่ 5 การกักร่อนจากความเค้น ( stress corrosion ) เหมือนกับการ กัดกร่อนเป็นลอน (fretting corrosion) ในเรื่องรอยแตกราวจากความเค้น เริ่มเกิดขึ้นจากนั้นจึงขยายตัวอย่างรวดเร็ว โลหะส่วนมากสามารถถูกทำให้ ได้รับการเสียหายเร็วขึ้นภายในสิ่งแวดล้อมที่ทำให้เกิดการกัดกร่อน เพราะ การกัดกร่อนจะทำให้ผิวหน้าเปราะ (ผิวหน้าแข็งมากเหมือนแก้ว) จึงทำให้ ผิวหน้าแตกร้าว หรือทำให้ผิวหน้าอ่อนแอลงมากพอที่จะทำให้เกิดการแตก หักอย่างสมบูรณ์ แบริ่งในรูปเสียหาย เนื่องจากการกระทำร่วมกันของการกัดกร่อน (corrosion) และความดันสูงเฉพาะแห่งใกล้จุดศูนย์กลางจากขอบที่ไม่สึก หรอบนข้ออกของเพลาข้อเหวี่ยง

60 การกัดเซาะจากการเป็นโพรง (CAVITATION EROSION)

61 ฟองอากาศเกิดขึ้นภายในของเหลวในระหว่างวัฎจักรความดันต่ำ (low pressure
แบบที่ 6 แบบสุดท้าย การกัดเซาะจากาการเป็นโพรง (cavitation erosion) หมาย ถึงรูปแบบหนึ่งของการเป็นหลุมซึ่งถูกเร่งโดยการกัดเซาะจนกระทั่งผิวหน้าเกิดการ เสียหายจากความล้าตัว การเป็นโพรง (cavitation) เกิดขึ้นบนผิวหน้าซึ่งแช่อยู่ในของ เหลวหรือโดยปกติเข้ามาสัมผัสกับของเหลวเท่านั้น ภาระกระทำต่อผิวหน้าซ้ำกัน หลายครั้งโดยการเคลื่อนที่สั่นระหว่างผิวหน้าและของเหลว ตัวอย่างเช่น ใบปั๊มน้ำ (ใบพัด) ของปั๊มน้ำหรือชิ้นส่วนของเกียร์อัตโนมัติ / เกียร์ออโตเมติกที่ทำงานอยู่ใน น้ำมัน การเคลื่อนที่สั่นทำให้เกิดความเค้นต่างๆ (stresses) บนผิวหน้าของชิ้นส่วน ฟองอากาศเกิดขึ้นภายในของเหลวในระหว่างวัฎจักรความดันต่ำ (low pressure cycle) และสลายตัวในวัฎจักรความดันสูง (high pressure cycle) ในขณะฟองอากาศ สลายตัว ทำให้เกิดความเค้นสูงจากากรกระแทกซึ่งผลให้อนุภาคของผิวหน้าค่อยๆ หลุดออกไปจนกลายเป็นหลุมลึกหรือกระเป๋าในที่สุด

62 การกัดเซาะจากการเป็นโพรง
อีกตัวอย่างหนึ่งที่เป็นผลของการกัดเซาะจากการเป็นโพรง (cavitation erosion) เห็นได้บนชุดฝาครอบหน้าของเครื่องยนต์ (engine front assembly) ข้อสังเกต : ขอให้สังเกตผิวหน้าที่เป็นหลุมลึกมาก ซึ่งเหมือนกันมากกับการกัดเซาะ ของพื้นดิน ชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์ที่มีลักษณะเช่นนี้ไม่สามารถนำไปใช้งานได้ต่อไป

63 การเปลี่ยนชิ้นส่วนที่แตกหักใหม่ โดยปราศจากการตรวจสอบและค้นหา
สาเหตุที่ทำให้แตกหักสามารถชักนำให้เกิดความเสียหายซ้ำอีกครั้ง -- เสียเวลา -- ค่าใช่จ่าย -- รวมทั้งส่งผลให้ลูกค้ารู้สึกไม่พอใจอีกด้วย


ดาวน์โหลด ppt สาเหตุโดยทั่วๆที่ทำให้วัสดุหรือชิ้นส่วนเกิดการเสียหาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google