งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข (Public Health Surveillance)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข (Public Health Surveillance)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข (Public Health Surveillance)
การอบรมการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ 11-12 ตุลาคม 2555, โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี ศุภวรรณ มโนสุนทร: B.Sc, MPH, Ph.D กลุ่มพัฒนาระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงและโรคไม่ติดต่อ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

2 ขอบเขตการนำเสนอ ความเป็นมาของการเฝ้าระวังจากอดีตสู่ปัจจุบัน
คำจำกัดความและการเชื่อมต่อสู่การปฏิบัติ วัตถุประสงค์การเฝ้าระวัง ชนิดของการเฝ้าระวัง ถ้าใช้ข้อมูลเพื่อการเฝ้าระวังต้องคำนึงในเรื่องใด ระบบเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในประเทศไทย ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พฤติกรรมประชากรไทย จากการสำรวจพฤติกรรมฯที่ ผ่านมา 4 ครั้ง จะหารายงานเฝ้าระวังพฤติกรรมฯ ได้จากที่ใด

3 ความเป็นมาของการเฝ้าระวังผ่านคำจำกัดความ สู่การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข
คศ เป็นการเฝ้าโรคในระดับบุคคล (สมัยโรคระบาดใหญ่ทั้งเมือง), CD นำสาธารณสุขและระบาดวิทยาเข้าสู่การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข, CD การเฝ้าระวังขยายสู่การเฝ้าระวังเฉพาะกลุ่ม เฉพาะสถานที่ เฉพาะเรื่องเช่น นักเรียน โรงเรียน อาหารและน้ำ เป็นต้น, CD นำปัจจัยกำหนดที่ส่งผลต่อการเกิดโรคเข้าสู่การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข เช่น เพศ อายุ SES, CD 1900-ปัจจุบัน นำหลายแหล่งข้อมูลมาใช้ในการเฝ้าระวังทางสาธารณสุข มีข้อตกลงระหว่างประเทศในการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ ขยายการเฝ้าระวังจาก CD สู่ด้านอื่นๆ เช่น การเฝ้าระวังการบาดเจ็บ การเฝ้าระวังบุหรี่ การเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ การเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ การฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ เป็นต้น >

4 ปัญหาสุขภาพที่ต้องเฝ้าระวังทางสาธารณสุข
โรคติดต่อ เช่น คอตีบ โรคไม่ติต่อ โรคจากการประกอบอาชีพ การบาดเจ็บ พฤติกรรมสุขภาพ การติดเชื้อในสถานพยาบาล อื่นๆ

5 Public health “data collection to action” loop
Data Intervention Interpretation Evaluation Data Information Intervention Analysis Dissemination Implementation Data Intervention Collection Planning GOAL: Effectively link data collection to data use Information for Action

6 ระบบข้อมูลที่ทำงานอย่างต่อเนื่อง ให้ข้อมูลที่เชื่อถือได้
นำสู่การตัดสินใจ วางแผน/โครงการ Surveillance/monitoring/evaluation

7 การเฝ้าระวังบอกอะไรกับเรา
เข้าใจธรรมชาติวิทยาของปัญหาสุขภาพ ที่ทำการเฝ้าระวัง รู้ขนาดและความรุนแรงของปัญหาสุขภาพ บอกแนวโน้มปัญหาสุขภาพ ช่วยในการติดตาม/ประเมิน โครงการในเรื่องของการป้องกันควบคุมโรค ช่วยในตัดสินใจ กำหนดทางเลือก เชิงนโยบาย ช่วยในการจัดทำแผนงาน โครงการ รวมทั้งการระบุกลุ่มเป้าหมายในการป้องกันควบคุมโรค ให้ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัย

8 ชนิดของการเฝ้าระวังทางสาธารณสุข
Passive surveillance > hospital-based > routine report 2. Active surveillance > searching for data > expensive resources 3. Sentinel surveillance > report of selected health event by selected area > passive and active

9 ข้อควรคำนึงในการใช้ข้อมูล เพื่อการเฝ้าระวังทางสาธารณสุข
ข้อควรคำนึงในการใช้ข้อมูล เพื่อการเฝ้าระวังทางสาธารณสุข ความครบถ้วน ความครอบคลุม ความถูกต้องความเป็นตัวแทนประชากร ของข้อมูล มาตรวัดทางสุขภาพ ความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล และวิธีการที่ได้ข้อมูล Standard of case definition ความสม่ำเสมอของการรายงานการเฝ้าระวัง เป็นข้อมูลที่นำสู่การป้องกันควบคุมโรค

10 ระบบเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในประเทศไทย
Actions = Comprehensive Chronic Disease Prevention in Thailand Chronic Disease (ป่วย ตาย พฤติกรรม สิ่งแวดล้อม) Ischemic Heart Disease Stroke Hypertension Diabetes Cancer Injury Surveillance information system = Major supporting system for comprehensive Chronic Disease Prevention Policies in Thailand

11 Research, Monitoring, Evaluation and Surveillance
Framework of Comprehensive Chronic Disease Prevention Policies in Thailand Many Goals setting Many strategies Many programs/projects Coordination and Capacity Behavior Risk factors Morbidity/ Mortality Supportive environment Health promotion behaviors Multiple intervention contexts School Workplaces Communities Health units Multiple target groups (over time and life course) Individuals Risk groups General population GOs MOPH Other GOs Health society NGOs Interest groups Multiple means and tools Counseling Regulation Mass media Taxation Multiple levels of intervention Nation Provinces Communities Many stakeholders Research, Monitoring, Evaluation and Surveillance

12 ระบบเฝ้าระวังโรคเรื้อรังที่สำคัญในประเทศไทย
Vital registration system: Death M. Of Interior National Province - Coverage - reliability Hospital base registration Inpatient Outpatient MOPH (B. of Policy and Strategy) National Province - Coverage - Utilization - Standard

13 ระบบเฝ้าระวังโรคเรื้อรังที่สำคัญในประเทศไทย
Disease registration > Cancer > DM - สถาบันมะเร็งแห่งชาติ - สมาคมแพทย์โรคเบาหวาน - สปสช National Coverage - Reliability - Utilization - Standard Health service registration > DM screen > HT screen MOPH (B. of Policy and Strategy) National Province Coverage - Reliability - Utilization - Standard

14 ระบบเฝ้าระวังโรคเรื้อรังที่สำคัญในประเทศไทย
Health survey NHES (Biological) BRFSS (Behavioral Risk) Heath status NHES B.NCD, D.DC, MOPH NSO National, region National, region, province 5 year 3 year 2 year Injury Surveillance B.Epid, MOPH Sentinel surveillance Coverage (33 hospital)

15 จะทำการเฝ้าระวังโรคเรื้อรัง ต้อง
โรคเรื้อรังหมายถึง ความเจ็บป่วยเรื้อรัง / โรคไม่คิดต่อ / และโรคของความเสื่อม คุณลักษณะที่สำคัญ คือ สาเหตุการเกิดโรคไม่ชัดเจน/ เกิดจากหลายปัจจัยเสี่ยง/ มีการสะสมการเกิดโรค และระยะเวลาการเกิดโรคนาน (low incidence/high prevalence) /ป่วยนานและตามมาด้วยการเกิดภาวะหรือโรคแทรกซ้อน / ระยะเวลาและการออกรายงาน

16 กระบวนการการป้องกันควบคุมโรคเรื้อรัง
Methods for chronic disease prevention and control (Ross CB., Patrick LR. And James RD. Chronic Disease Epidemiology and Control, p. 7) Prevention strategy Primary prevention Secondary prevention Tertiary prevention Population’s disease status Susceptible Asymptomatic Symptomatic Effects Reduced disease incidence Reduced prevalence/ consequence Reduced complication/ disability

17 ทำไมต้องเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง โรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
ทำไมต้องเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง โรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ โรคไม่ติดต่อ(IHD Stroke HT DM มะเร็ง บาดเจ็บ) เป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศ มีสาเหตุจากปัจจัยพฤติกรรมสุขภาพ อธิบายธรรมชาติวิทยา (ระบาดวิทยาได้) บอก ติดตามและส่งต่อไปยังการป้องกันควบคุมโรค และคุณภาพบริการ โดยผ่านมาตรการทางสาธารณสุขได้ มีชุดของข้อคำถาม (standard case definition) เปรียบเทียบได้ ทำเป็นระบบข้อมูลที่มีความต่อเนื่องสม่ำเสมอได้ เป็นการเฝ้าระวังในระดับประชากร (population-based surveillance)

18 ข้อมูลที่ได้มาจากจากแหล่งที่ต่างกันระหว่าง
Health Registration System VS Health Survey System (Health measurement vs health interview)

19 ความเป็นมาของ BRFSS ในประเทศไทย
WHO Stepwise Approach VS US_CDC BRFSS

20 Conceptual framework of BRFSS

21 Standard core question
Socioeconomic status BMI Smoke Fruit and vegetable intake Exercise Etc. National statistic Office CDC WHO, CDC WHO (>= 5 standard cup/day) WHO (GPPAQ)  develop  GPPAQ Etc.

22 Example of Core and Optional Question
Core question Optional question Have you smoked at least 100 cigarettes in your entire life? Are you now smoking cigarettes everyday, some days, or not at all?  Current smoke, ex-smoke, non-smoke In the last 30 days, have you ever seen anyone smoke in air condition public place or restaurant, hotel, government place? Policy intervention

23 Stratified two stages cluster sampling
Sampling frame Stratified two stages cluster sampling Province Urban Rural Electing area Village Finite population vs Non-finite population Complex sampling design Stratified two stages cluster sampling, 2010 Sampling frame designed by Dr.Gun Cerngrungroj and Dr.Yongyuth Chaiyapong Individual sample Individual sample Age M F 15-54 24 55-74 12 Total 36 Age M F 15-54 24 55-74 12 Total 36 72 sample/1cluster 72 sample/1cluster 864 sample/12 cluster 864 sample/12 cluster 1,728 sample/province (75 provinces + BKK = 131,328 samples) Complex analysis/multilevel analysis, using SAS software for estimation

24 Process of data collection, data management and analysis
Training workshop to public health personnel Working manual Field external audit Field internal audit By health personnel at BRFSS center

25 Data report and distribution
Data distribution Health Provincial Office Hospital University Prevalence Mean Province Region National

26 What are the components of BRFSS ?
PART 1 SOCIOECONOMIC STATUS PART 2 GENERAL HEALTH STATUS PART 3 ACCESSIBILITY TO HEALTH SERVICES PART 4 OVERWEIGHT AND OBESITY PART 5 FOOD CONSUMPTION PART 6 FRUIT AND VEGETABLE CONSUMPTION PART 7 PHYSICAL ACTIVITY PART 8 ALCOHOL CONSUMPTION PART 9 TOBACCO CONSUMPTION PART 10 HYPERTENSION PART 11 DIABETES PART 12 CHRONIC DISEASES PART 13 CERVICAL CANCER EXAMINATION PART 14 HIV/AIDS EXAMINATION PART 15 KNOWLEDGE OF SELECTED NCD PREVENTION PART 16 ROAD TRAFFIC INJURIES

27 ร้อยละของพฤติกรรมสุขภาพ ในประชากรอายุ 15-74 ปี จากการสำรวจพฤติกรรมเสียงโรคไม่ติดต่อ

28 ร้อยละของการคัดกรองและความรู้ในประชากรอายุ 15-74 ปี จากการสำรวจพฤติกรรมเสียงโรคไม่ติดต่อ

29

30 Thank you and SawatDee ka


ดาวน์โหลด ppt การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข (Public Health Surveillance)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google