งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ กลุ่มงานอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปาง นางสาวพัชรา แสนสุข นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ กลุ่มงานอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดแม่ฮ่องสอน

2 ทำไมต้อง วิเคราะห์ดิน? เพื่อให้ทราบถึงความอุดมสมบูรณ์และ
ปัญหาของดินในแปลงปลูกพืช และการแก้ไข ปรับปรุง บำรุงดิน ได้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้นและมีคุณภาพ ช่วยลดต้นทุนในการใส่ปุ๋ย

3 และความเป็นกรด-ด่างของดิน
การวิเคราะห์ดิน ตรวจธาตุอาหาร เอ็น (N) พี (P) เค (K) และความเป็นกรด-ด่างของดิน แบบรวดเร็ว

4 วัสดุอุปกรณ์ กรวยพลาสติก กระดาษกรอง 5 มล. 1 มล. หลอดแก้ว กระบอก พร้อม
จุกยาง 3 มล. กระบอก สำหรับ ตวง น้ำยาสกัด ช้อนตักดิน ช้อนตักผง แผ่นเหล็ก ถาดหลุมพลาสติก ขวด รองรับ ขวด สกัดดิน ถ้วย พลาสติก

5 น้ำยาที่ใช้ 10 1 3 N N 4 วัด กรด- ด่าง ของดิน 2 5 6 P K 8 9A 9 7
เอ็น 3 N เอ็น N 4 10 วัด กรด- ด่าง ของดิน 2 5 1 ดินนา แอมโมเนียม ดินไร่ ไนเทรต พี 6 P เค K 8 9A 9 7 ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม น้ำยาสกัดดิน น้ำกรอง

6

7 ความเป็นกรด-ด่าง (pH)
แอมโมเนียม ขั้นตอนการตรวจสอบดิน ไนเตรต เตรียมตัวอย่างดิน ฟอสฟอรัส สกัดธาตุอาหารพืช โพแทสเซียม ตรวจสอบ ตรวจสอบ ไนโตรเจน เอ็น : N ฟอสฟอรัส พี : P โพแทสเซียม เค : K ความเป็นกรด-ด่าง หรือค่าพีเอช (pH) ถ้าดินนา ถ้าดินไร่ แอมโมเนียม ไนเทรต ความเป็นกรด-ด่าง (pH)

8 การตรวจสอบความเป็นกรด-ด่าง (พีเอช) ของดิน
ใส่ดิน ครึ่งหลุม 1. ใส่ดินลงในหลุมพลาสติก ประมาณครึ่งหลุม โดยใช้ ซ้อนตักดินที่สะอาด 2. หยดน้ำยาเบอร์ 10 ลงไป จนดินอิ่มตัวด้วยน้ำยาฯ แล้ว เพิ่มน้ำยาฯ อีก 2 หยด 3. เอียงหลุมพลาสติกไปมา (ถ้าดินเหนียว ดินจะเกาะกัน เป็นก้อน ให้ใช้ปลายซ้อนเขี่ย เบาๆ ระวัง! อย่าให้น้ำยาขุ่น) 4. ทิ้งไว้ 1 นาที เปรียบเทียบ สีของน้ำยาฯ บริเวณขอบหลุม กับแผ่นเทียบสีมาตรฐานฯ 1 2 ถาดหลุมพลาสติก น้ำยา เบอร์ 10 แผ่นเทียบสีมาตรฐาน ‘พีเอช’

9 ดี

10 การเตรียมอุปกรณ์สำหรับกรอง ของเหลวที่ได้จากการสกัด
ปรับให้เหลื่อมกัน ประมาณ ½-1 ซม. เหลื่อมกัน ½-1 ซม. 3 พับครึ่ง 1 พับครึ่ง 2

11 การสกัดธาตุอาหารพืชออกจากดิน
ใส่น้ำยาสกัดเบอร์ 1 20 มล. 2 กระบอกตวง 1 ตวงตัวอย่างดิน 1 ช้อน เคาะเบาๆ 3 ครั้ง แล้วปาด ให้เสมอขอบช้อน ถ้วย พลาสติก น้ำยาสกัดเบอร์ 1 ปิดฝา และเขย่าให้เข้ากัน 5 นาที แล้วจึงกรอง ช้อนตวงดิน 3 ขวดสกัดดิน

12 ผ่านบนกระดาษกรองเท่านั้น
หลังเขย่า 5 นาที เทดินและน้ำยาสกัด ผ่านบนกระดาษกรองเท่านั้น 1 ขวดสกัดดิน รอจนของเหลว ซึมออกจาก กระดาษกรองจนหมด ใช้เวลาประมาณ 5 นาที 2 ขวดรองรับ

13 เมื่อดูดตัวอย่างใหม่
ดูดสารละลาย ที่ผ่าน การกรองแล้ว ใส่ลงในหลอดแก้ว 3 มล. 1 มล. 2.5 2.5 0.8 เอ็น พี เค 1 2 3 N P K 2.5 มล. 0.8 มล. หมายเหตุ : ต้องล้างด้วย น้ำสะอาดทุกครั้ง เมื่อดูดตัวอย่างใหม่ ระวัง! ดินนา-แอมโมเนียม ดินไร่-ไนเทรต ขวดรองรับ ไนเตรต / แอมโมเนียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม

14 การตรวจสอบปริมาณ ‘แอมโมเนียม’ (N)
1. ดูด ‘น้ำ’ จากขวดรองรับ 2.5 มล. ใส่ลงในหลอดแก้ว 2. เติมผงเบอร์ 2 หนึ่งช้อนเล็ก 3. เติมน้ำยาเบอร์ 3, 5 หยด 4. ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง 5. เขย่าให้เข้ากัน ทิ้งไว้ 5 นาที 6. อ่านค่า ‘แอมโมเนียม’ โดย เปรียบเทียบกับแผ่นสีมาตรฐาน ‘แอมโมเนียม’ ถ้าเกิดโทนสีฟ้า ใช้ ‘แผ่นที่ 1’ ถ้าเกิดโทนสีเขียว ใช้ ‘แผ่นที่2’ 1. ดูด ‘น้ำ’ จากขวดรองรับ 2.5 มล. ใส่ลงในหลอดแก้ว 2. เติมผงเบอร์ 2 หนึ่งช้อนเล็ก 3. เติมน้ำยาเบอร์ 3, 5 หยด 4. ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง 5. เขย่าให้เข้ากัน ทิ้งไว้ 5 นาที 6. อ่านค่า ‘แอมโมเนียม’ โดย เปรียบเทียบกับแผ่นสีมาตรฐาน ‘แอมโมเนียม’ ถ้าเกิดโทนสีฟ้า ใช้ ‘แผ่นที่ 1’ ถ้าเกิดโทนสีเขียว ใช้ ‘แผ่นที่2’ หลอดที่ 1 N 3 3 2 2 VH H M L VL

15 “เอ็น” – แอมโมเนียม

16 การตรวจสอบปริมาณ ‘ไนเตรต’ (N)
1. ดูด ‘น้ำ’ จากขวดรองรับ 2.5 มล. ใส่ลงในหลอดแก้ว 2. เติมน้ำยาเบอร์ 4, 0.5 มล. 3. เติมผงเบอร์ 5 หนึ่งซ้อนเล็ก 4. ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง 5. เขย่าให้เข้ากัน ทิ้งไว้ 5 นาที 6. อ่านค่า ‘ไนเตรต’ โดย เปรียบเทียบกับแผ่นสีมาตรฐาน ‘ไนเตรต’ หลอดที่ 1 N 5 4 H M L VL

17 “เอ็น” – ไนเตรต

18 การตรวจสอบปริมาณ ‘ฟอสฟอรัส’ (P)
1. ดูด ‘น้ำ’ จากขวดรองรับ 2.5 มล. ใส่ลงในหลอดแก้ว 2. เติมน้ำยาเบอร์ 6, 0.5 มล. 3. เติมผงเบอร์ 7 ครึ่งซ้อนเล็ก 4. ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง 5. เขย่าให้เข้ากัน ทิ้งไว้ 5 นาที 6. อ่านค่า ‘ฟอสฟอรัส’ โดย เปรียบเทียบกับแผ่นสีมาตรฐาน ‘ฟอสฟอรัส’ หลอดที่ 2 P 7 6 L VL VH H M

19 “พี”

20 การตรวจสอบปริมาณ ‘โพแทสเซียม’ (K)
หลอดที่ 3 K หลอดที่ 3 K 1. ดูด ‘น้ำกรอง’ 3 มล. ใส่ลงใน ขวดเบอร์ 9 เขย่าให้เข้ากัน 5 นาที 2. ดูด ‘น้ำ’ จากขวดรองรับ 0.8 มล. 3. เติมน้ำยาเบอร์ 8 จำนวน 2.0 มล. (ห้ามเขย่า) 4. เติมน้ำยาเบอร์ 9A จำนวน 1 หยด (ห้ามเขย่า) 5. เติมน้ำยาเบอร์ 9 จำนวน 2 หยด (ห้ามเกิน) 6. ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง เขย่าให้เข้ากัน อ่านค่า ‘โพแทสเซียม’ ทันที ถ้ามี ‘ตะกอน’ อ่านว่า K สูง ถ้ามี ‘ฝ้าขาว’ อ่านว่า K ปานกลาง ถ้าไม่มีตะกอน อ่านว่า K ต่ำ 3 มล. น้ำกรอง 9A 9 8 H M L

21 “เค”

22 การเก็บรักษาและข้อควรระวัง ในการใช้ชุดตรวจสอบ NPK
เก็บในที่ร่ม ไม่โดนแสงแดด เก็บมิดชิด หลอดแก้ว อุปกรณ์ ล้างด้วยน้ำสบู่อ่อนๆ ล้างน้ำให้สะอาด ผึ่งให้แห้ง เก็บเข้าชุด ขวดน้ำยา สารเคมี ใช้งานแล้วปิดฝาให้แน่น สารเคมี และน้ำยาต่างๆ ส่วนใหญ่เป็นกรด และด่าง อย่าสูดดม อย่าให้ถูกผิวหนังหรือ กระเด็นเข้าตา

23 สวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google