ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ให้ผู้ป่วยเคี้ยวอาหารให้ละเอียดพร้อมกลืน
ก้มศีรษะ คางชิดอก กลั้นหายใจแล้วกลืน เมื่อกลืนแล้วให้กระแอม แล้วกลืนซ้ำอีก 1 ครั้ง ตรวจดูว่ามีอาหารตกค้างอยู่ในปากหรือไม่ ก่อนป้อนอาหารคำต่อไป หลังฝึกเสร็จควรทำความสะอาดภายในช่องปากอีกครั้ง ถ้ามีอาการสำลักหรือไอเกิดขึ้นขณะกลืนอาหาร ให้ผู้ป่วยก้มหน้าลงทันที
2
ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลลัพธ์
อาการน้ำลายไหลหรือมีอาหารไหลออกจากปาก อาการที่มีอาหารค้างในกระพุ้งแก้ม ไอขณะรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำ อาหารเป็นก้อนติดคอมากกว่าหรือเท่ากับ 3 ครั้ง มีเสียงน้ำในคอหลังจากการกลืน ไม่สามารถรับประทานอาหารได้โดยไม่พึ่งพา ใช้เวลาในการรับประทานอาหารเท่ากับหรือนานมากกว่า 20 นาที
3
ส่วนที่ 5 การประเมินการเกิดภาวะทุโภชนาการ
ส่วนที่ 6 การประเมิน การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
4
การบริหารกล้ามเนื้อปาก
เม้มริมฝีปากค้างไว้ 5 วินาที ทำ 10 ครั้ง ทำปากจู๋ – ยังฟันสลับกัน ทำ 10 ครั้ง ยิงฟันค้างไว้ 5 วินาที ทำ 10 ครั้ง ทำแก้มป่องแล้วย้ายแก้มป่องซ้าย-ขวาสลับกัน ทำ 10 ครั้ง อ้าปากค้างไว้ 5 วินาที ทำ 10 ครั้ง อ้าปากค้างไว้แล้วเคลื่อนขากรรไกรยื่นคางไปทางซ้ายค้างไว้ 5 วินาที แล้วย้ายไปทางขวา ทำเช่นเดียวกัน ทำทั้งหมด 10 ครั้ง
5
บริหารกล้ามเนื้อลิ้น
แลบลิ้นออกมาตรงๆ ค้างไว้ 5 วินาที ทำ 10 ครั้ง ส่ายลิ้นแตะมุมปากซ้ายสลับกับขวา ทำ 10 ครั้ง (หากทำไม่ได้ให้ใช้ไม้กดลิ้นช่วย) ออกเสียง “ลันลา” ทำ 10 ครั้ง กวาดลิ้นให้ทั่วปาก 5 วินาที ทำ 10 ครั้ง
6
บริหารกล้ามเนื้อเพดานอ่อนและผนังคอ
เป่ากระดาษทิชชู เป่ายาง ทำแก้มป่องค้างไว้ แล้วกดแก้มที่ป่องให้ลมพุ่งออกทางปาก ทำ 10 ครั้ง
7
Dietary management อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง
อาหารอ่อน อาหารทั่วไป
8
อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป
9
อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป
10
อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป
11
อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป
12
อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป
13
อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป
14
อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป
15
อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป
16
อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป
17
ข้อควรระวังขณะฝึกการกลืน
หากผุ้ป่วยมีเสมหะมาก ควรดูดเสมหะก่อนหรือให้ผู้ป่วยไอเอาเสมหะก่อน เพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง ไม่ควรให้ผู้ป่วยกลืนน้ำ หรืออาหารทางปาก หากผู้ป่วยยังรู้สึกตัวไม่เต็มที่ ไม่ควรฝึกกลืนในท่านอนศีรษะราบ ควรจัดให้ศีรษะและลำตัวของผู้ป่วยตั้งขึ้นขณะฝึกกลืน เพื่อป้องกันการสำลักน้ำและอาหารเข้าทางเดินหายใจ
18
ข้อควรระวังขณะฝึกการกลืน
ขณะที่ผู้ป่วยสำลักน้ำและอาหาร ควรหยุดป้อนน้ำและอาหารก่อน พร้อมกระตุ้นให้ผู้ป่วยไอและเอาเศษอาหารที่อยู่ในช่องปากออก ควรให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่ให้ศีรษะและลำตัวตั้งขึ้นประมาณ 30 นาทีหลังจากฝึกกลืน เพื่อป้องกันการขย้อนของน้ำและอาหารขึ้นมา
19
ข้อปฏิบัติในการฝึกกลืน
…………… 1. ลักษณะการนั่งของผู้ป่วยระหว่างและหลังรับประทานอาหาร 30-60 นาที ( ) นั่งตัวตรง ( ) นอนปรับหัวสูง 30 องศา …………… 2.การจัดท่าช่วยในการฝึกกลืน ( ) ก้มศีรษะ คางชิดอก ( ) ยื่นหน้าไปข้างหน้า ( ) หันหน้าไปทางด้าน ( ) เอียงศีรษะไปทางด้าน …………… 3. เริ่มรับประทานอาหารคำเล็กๆ ควรใช้ช้อนก้นตื้น …………… 4. ห้ามดูดน้ำจากหลอด ใช้กระบอกฉีดยา ซีซี หรือ ช้อนชา …………… 5. ห้ามรับประทานอาหารเหลวและน้ำจากปาก
20
ข้อปฏิบัติในการฝึกกลืน
…………… 6. รับประทานอาหารคำเล็กๆพร้อมกับจิบน้ำตาม …………… 7. ตรวจดูอาหารค้างในปากหลังอาหาร …………… 8. การกลืนอาหารแบบ Supraglottic swallowing - เมื่อเคี้ยวอาหารพร้อมจะกลืนแล้ว ให้กลั้นหายใจ - กลืนอาหาร - กระแอมเพื่อตรวจเช็คการติดค้างของอาหาร แล้วกลืนซ้ำอีกครั้ง …………… 9. การกลืนอาหารแบบ Super supraglottic swallowing - ออกแรงผลักโต๊ะพร้อมกับกลืนอาหาร …………… 10. อื่นๆ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.