ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การปฏิรูปการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร
งานสัมมนา วันต่อต้านคอรัปชั่น 6 กันยายน 2557 การปฏิรูปการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร ดร.บัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ เครือข่ายเดินหน้าปฏิรูป (Reform Now Network : RNN)
2
ฐานคิดในการนำเสนอ 1. การปฏิรูปการเลือกตั้ง เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิรูประบบการเมือง ซึ่งในสภาพการณ์ปัจจุบัน จำเป็นต้องปฏิรูปทั้งระบบ ---> มุ่งสู่ “ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม” 2. องค์ประกอบและปัจจัยที่เกี่ยวโยงกับ “ระบบการเลือกตั้ง” มีอยู่หลายส่วน ---> มุ่งเน้นเรื่อง “นโยบายการหาเสียงเลือกตั้ง” (ต้นทางส่วนหนึ่งที่เกี่ยวโยงกับปัญหาคอรัปชั่น)
3
การปฏิรูปการเมืองทั้งระบบ --> ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
1.การออกแบบ สถาบันทางการเมือง การกำหนดนโยบายสาธารณะ การออกกฎหมาย การทำโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ ฯลฯ 3.การใช้อำนาจ : การกำกับถ่วงดุลการใช้อำนาจ การกระจายอำนาจ การใช้อำนาจอธิปไตยทางตรง 2.การเข้าสู่อำนาจ : การเลือกตั้ง การใช้อำนาจ + การตรวจสอบการใช้อำนาจ มีผลเชื่อมโยง ส่งผลต่อการเลือกตั้ง การกำหนดนโยบายหาเสียง 4.การตรวจสอบ การใช้อำนาจ โดยองค์กรอิสระ โดยภาคประชาชน
4
นโยบายหาเสียงเลือกตั้ง
1 ใน 3 ปัจจัยสำคัญต่อการตัดสินใจเลือกตั้ง 3 ก.ค.54 ในขณะที่ การซื้อสิทธิขายเสียงได้ถูกลดความสำคัญลง ไม่ได้มีอิทธิผลมากเหมือนในอดีต พรรคการเมืองและประชาชนสนใจกับ “ชุดนโยบายมากขึ้น” ประชาชนมีการเรียนรู้ทางการเมืองมากขึ้น ตัดสินใจด้วยตนเองมากขึ้น อ้างอิง : สิริพรรณ (2554)
5
นโยบายหาเสียงเลือกตั้ง
ข้อเสนอชวนเสวนา ควรสร้างความแตกต่างที่ชัดเจนระหว่าง นโยบายหาเสียงเลือกตั้ง & เป้าหมาย/ ยุทธศาสตร์ประเทศ นโยบายหาเสียงเลือกตั้ง นโยบายรัฐบาล ควรเป็นนโยบาย/ ยุทธศาสตร์ เพื่อให้บรรลุ เป้าหมาย / ยุทธศาสตร์ประเทศ
6
นโยบายหาเสียงเลือกตั้ง
ที่มาของเป้าหมาย/ ยุทธศาสตร์ประเทศ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐในรัฐธรรมนูญ (เช่น กระจายการถือครองที่ดิน ... ฯลฯ) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (เช่น สังคมคาร์บอนต่ำ ...ฯลฯ) แผนแม่บทการพัฒนาสาขาต่างๆ ( เช่น แผนแม่บทสิ่งแวดล้อม ...ฯลฯ)
7
นโยบายหาเสียงเลือกตั้ง & การปฏิรูป
1. ข้อกำหนดเกี่ยวกับเนื้อหานโยบายหาเสียง (กฎกติกา : มีเนื้อหาเพียงพอ+ กลไกดำเนินการ + ที่มางบประมาณ + ผลกระทบ + แนวทางป้องกัน + ระดับของการมีส่วนร่วมประชาชน) เป้าหมาย / ยุทธศาสตร์ประเทศ นโยบาย หาเสียงเลือกตั้ง 2. ให้สมาชิกพรรคการเมือง + ประชาชนชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย 3. การมีส่วนร่วมในการ วิพากย์นโยบายหาเสียง 4. การมีส่วนร่วมในการ มีส่วนร่วมกำกับ ควบคุมการปฏิบัติตามนโยบายหาเสียง (ร่วมให้ข้อคิดเห็น , ร่วมปรึกษา, ร่วมตัดสินใจ, ปชช.ตัดสินใจ)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.