ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThawanya Vanich ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ความทุกข์จากการรักษามะเร็งสู่การแสวงหาการเยียวยา ศิริวรรณ คำฝั้น พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ วิไลวรรณ สำเภาแก้ว พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลสอง จังหวัดแพร่
2
ความเป็นมา สถิติการป่วยด้วยมะเร็งเป็นอันดับ 3 ของประเทศรองจากหัวใจหลอดเลือดและ เบาหวาน ในพื้นที่อำเภอสอง ปี 2553 พบอัตราป่วยเป็น 23.04 : แสนประชากร (<20: แสน ปชก.) ข้อมูลการมารับการรักษาที่ ร. พ. มีน้อย
3
วัตถุประสงค์ ศึกษามุมมอง / ประสบการณ์การเจ็บป่วยด้วยมะเร็งเต้านมของผู้ป่วยและครอบครัว ศึกษาวิธีการรักษาและเงื่อนไขการเยียวยาของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม เพื่อปรับปรุงรูปแบบและแนวทางในการดูแลที่เหมาะสมของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
4
คำถามวิจัย มุมมอง / ประสบการณ์ของผู้ป่วยและครอบครัวต่อมะเร็งเต้านมในความคิดของผู้ป่วย และญาติเป็นอย่างไร วิธีการรักษาและเงื่อนไขการเยียวยาของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมเป็นอย่างไร แนวทางในการดูแลที่เหมาะสมของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมควรเป็นอย่างไร
5
ระเบียบวิธีวิจัย เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ สัมภาษณ์เชิงลึก สัมภาษณ์กลุ่ม การสังเกตอย่างมีส่วนร่วม
6
การเลือกตัวอย่าง เลือกผู้ป่วยจากทะเบียนของ ร. พ. 2 ตำบล ตำบลละ 2 ราย เป็นผู้ป่วยในเขตเมืองและเขตชนบท เป็นผู้ป่วยที่ผ่านการรักษาด้วยแพทย์แผนปัจจุบันมาก่อน
7
เครื่องมือ การสัมภาษณ์เชิงลึก การสัมภาษณ์กลุ่ม การสังเกตอย่างมีส่วนร่วม
8
การวิเคราะห์ข้อมูล นำข้อมูลวิเคราะห์กับทฤษฎี ความรู้สึก ความเชื่อ วัฒนธรรมทางสังคม
9
ข้อค้นพบ มุมมองประสบการณ์ : ความเชื่อเรื่องกรรมถูกใช้ในการอธิบายความเจ็บป่วย วิธีการและเงื่อนไขการเยียวยา : การแพทย์ทางเลือกคือคำตอบสุดท้าย ห่างไกลมะเร็ง : ห่างไกลทุกข์
10
ข้อเสนอแนะ การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งควรเป็นการดูแลที่ผสมผสานจิตใจ ศีลธรรมและสังคม ซึ่งเป็นทัศนะของการมองปัญหาด้านสุขภาพที่กว้างขวางและซับซ้อน ทีมการรักษา เยียวยา ควรให้ความสำคัญต่อการดูแลผู้ป่วยมะเร็ง เพราะ ทุกๆกระบวนการของการรักษามีความเชื่อมโยงกัน
11
ขอขอบคุณ ผู้ป่วยมะเร็งและญาติทั้ง 4 ราย ดร. นพ. โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ นพ. วันชัย วันทนียวงค์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสอง งานคุณภาพโรงพยาบาลสอง สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน ) สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ อ. อรชร โวทวี อาจารย์ที่ปรึกษา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.