ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSunanda Chearavanont ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
บทที่ 2 แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
3
ขั้นตอนการ พัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมมีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ซึ่งไม่ว่าจะทำการพัฒนาโปรแกรม ครั้งใดจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้ 1. วิเคราะห์ปัญหา (Analysis) 2. วางแผนและออกแบบ (Planing & Design) 3. เขียนโปรแกรม (Coding) 4. ทดสอบโปรแกรม (Testing) 5. จัดทำคู่มือ (Documentation)
4
วิเคราะห์ปัญหา (Analysis) ขั้นตอนนี้ถือว่าเป็นขั้นตอนที่ สำคัญที่สุด ผู้เขียนโปรแกรมต้อง วิเคราะห์ปัญหาให้ออกว่าจะต้องทำ การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ไขอะไร เพราะหากวิเคราะห์หรือมองปัญหาผิด แล้ว ก็จะทำให้เขียนโปแกรมได้ ผลลัพธ์ออกมาผิดไปจากสิ่งที่ ต้องการด้วย และนออกจากจะ วิเคราะห์ว่าปัญหาคืออะไรแล้ว จำเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องวิเคราะห์ด้วยว่า ข้อมูลที่จะนำเข้ามาใช้ในโปรแกรมมี อะไรบ้าง
5
จุดประสงค์ของการ วิเคราะห์ปัญหา 1. เพื่อหาวัตถุประสงค์ของการเขียน โปรแกรม 2. เพื่อหารูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ Output 3. เพื่อหาข้อมูลนำเข้าที่ต้องใส่เข้าไปใน โปรแกรม Input 4. เพื่อหาตัวแปรที่จำเป็นต้องใช้ใน โปรแกรม 5. เพื่อหาขั้นตอนวิธีการทำงานของ โปรแกรม Process 1. เพื่อหาวัตถุประสงค์ของการเขียน โปรแกรม 2. เพื่อหารูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ Output 3. เพื่อหาข้อมูลนำเข้าที่ต้องใส่เข้าไปใน โปรแกรม Input 4. เพื่อหาตัวแปรที่จำเป็นต้องใช้ใน โปรแกรม 5. เพื่อหาขั้นตอนวิธีการทำงานของ โปรแกรม Process
6
ตัวอย่างที่ 1.1 หาพื้นที่ สี่เหลี่ยมผืนผ้า 1. เพื่อหาวัตถุประสงค์ของการเขียนโปรแกรม 2. เพื่อหารูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ Output 3. เพื่อหาข้อมูลนำเข้าที่ต้องใส่เข้าไปใน โปรแกรม Input 4. เพื่อหาตัวแปรที่จำเป็นต้องใช้ในโปรแกรม 5. เพื่อหาขั้นตอนวิธีการทำงานของโปรแกรม Process 1. เพื่อหาวัตถุประสงค์ของการเขียนโปรแกรม 2. เพื่อหารูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ Output 3. เพื่อหาข้อมูลนำเข้าที่ต้องใส่เข้าไปใน โปรแกรม Input 4. เพื่อหาตัวแปรที่จำเป็นต้องใช้ในโปรแกรม 5. เพื่อหาขั้นตอนวิธีการทำงานของโปรแกรม Process พ. ท. สี่เหลี่ยมผืนผ้า = กว้าง * ยาว Output Input Process
7
วางแผนและออกแบบ (Planing & Desigh) การวางแผน คือ การนำปัญหาที่วิเคราห์ได้จาก ขั้นตอนที่ 1 มาวางแผนอย่างเป็นขั้นตอน ว่า จะต้องเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปํญหาอย่างไร การ วางแผนอย่างเป็นขั้นตอนนี้เรียกว่า อัลกอริทึม (Algorithm) ซึ่ง อัลกอริทึม แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบคือ 1 ซูโดโค้ด (Pseudocode) 2 โฟลวชาร์ต (Flowchart)
8
ซูโดโค้ด (Pseudocode) โฟลวชาร์ต (Flowchart) โจทย์ : จงเขียนโปรแกรมรับค่าเลขจำนวนเต็ม 2 จำนวนและหาผลบวกของเลขทั้ง 2 จำนวน นั้น
9
เขียนโปรแกรม (Coding) เป็นการนำอัลกอริทึมมาจาก ขั้นตอนที่ 2 มาเขียนโปรแกรม ให้ถูกต้องตามไวยกรณ์ (syntax) ของภาษาซี สามารถ เขียนได้ดังตัวอย่างนี้
10
#include #include Void main (void) { int x,y,sum; printf (“Value of x is : “); scanf (“5d”,&x); printf (“Value of y is : “); printf (“Value of y is : “); scanf (“%d”,&y); sum = x+y; printf (“Sum of %d+%d is %d\n”,x,y,sum); }
11
ทดสอบโปรแกรม (Testing) เป็นการผลลัพธ์จากขั้นที่ 3 มาทำการ รัน (run) จากนั้นทดสอบโดยป้อนค่า x และ y เข้าไปในโปรแกรม และตรวจสอบ ผลลัพธ์ที่ได้ว่าถูกต้องหรือไม่ โดยทดสอบ หลายๆครั้ง หากผลลัพธ์ที่ได้ถูกต้องแสดง ว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นถูกต้องแล้ว แต่ถ้า เขียนผิดผู้เขียนต้องกลับไปตรวจสอบ และ แก้ไขโปรแกรมใหม่อีกครั้ง เป็นการผลลัพธ์จากขั้นที่ 3 มาทำการ รัน (run) จากนั้นทดสอบโดยป้อนค่า x และ y เข้าไปในโปรแกรม และตรวจสอบ ผลลัพธ์ที่ได้ว่าถูกต้องหรือไม่ โดยทดสอบ หลายๆครั้ง หากผลลัพธ์ที่ได้ถูกต้องแสดง ว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นถูกต้องแล้ว แต่ถ้า เขียนผิดผู้เขียนต้องกลับไปตรวจสอบ และ แก้ไขโปรแกรมใหม่อีกครั้ง ดังตัวอย่างนี้
12
จัดทำคู่มือ (Documntation จุดประสงค์ที่สำคัญของการจัดทำ คู่มือ คือ ช่วยให้ผู้อื่นศึกษาซอร์ สโค้ดของโปรแกรม (source code) ได้ง่ายขึ้น จะเป็น ประโยชน์มากสำหรับการพัฒนา โปรแกรมในอนาคต เพราะจะช่วย ให้ศึกษาซอร์สโค้ดได้ง่ายและ รวดเร็วขึ้น การจัดทำคู่มือไม่มี กฏเกณฑ์ระบุไว้แน่นอน แต่ ผู้เขียนโปรแกรมควรจัดทำคู่มือให้ มีรายละเอียดมากที่สุด
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.