ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAshwin Chaiyasan ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
มหาวิทยาลัยทักษิณ
2
ความหมาย การประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง หมายถึง การประเมินความสามารถตามสภาพ ความเป็นจริงของผู้เรียนโดยเทคนิคหรือวิธีการที่เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน ทั้งนี้การประเมินต้องประเมินทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติตามมาตรฐาน (สมรรถนะ) ที่กำหนด
3
หลักของการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง
ระดับ พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย จิตพิสัย 6 ประเมินค่า 5 สังเคราะห์ ทำเป็นธรรมชาติ สร้างบุคลิกภาพ 4 วิเคราะห์ ปฏิบัติถูกต้องทุกขั้นตอน จัดระบบตนเอง 3 นำไปใช้ ปฏิบัติมีความผิดพลาดน้อย เห็นคุณค่า 2 เข้าใจ ปฏิบัติตามคำสั่ง ตอบสนอง 1 รู้จำ เลียนแบบ การรับรู้ หลักของการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง เป็นการประเมินความก้าวหน้าและการแสดงออกของนักเรียน บนรากฐานของทฤษฎีการเรียนรู้ ระดับ พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย จิตพิสัย 6 ประเมินค่า - 5 สังเคราะห์ ทำเป็นธรรมชาติ สร้างบุคลิกภาพ 4 วิเคราะห์ ปฏิบัติถูกต้องทุกขั้นตอน จัดระบบตนเอง 3 นำไปใช้ ปฏิบัติมีความผิดพลาดน้อย เห็นคุณค่า 2 เข้าใจ ปฏิบัติตามคำสั่ง ตอบสนอง 1 รู้จำ เลียนแบบทำตาม การรับรู้
4
หลักของการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง
มีรากฐานบนพัฒนาการและการเรียนรู้ของผู้เรียนที่แตกต่างกัน การประเมินผลตามสภาพจริงและการพัฒนาหลักสูตรต้อง ส่งเสริมซึ่งกันและกัน ต้องคำนึงถึงความเป็นไปได้เหมาะสมกัน การประเมินผลตามสภาพจริงและการพัฒนาหลักสูตรต้องมาจาก บริบทรากฐานทางวัฒนธรรมที่ผู้เรียนอาศัยอยู่ ผู้สอนต้องสามารถบูรณาการและปรับขยายหลักสูตรได้และทัน ยุคสมัยเพื่อให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมาย
5
Triangulate Assessment
ชิ้นงาน ผลงาน (นักเรียน) ผู้เรียน การแสดงผลงาน (บุคคลภายนอก) ข้อสอบมาตรฐาน (คณะกรรมการ)
6
ลักษณะของการประเมินตามสภาพจริง
การประเมินอย่างเป็นทางการ เป็นการประเมินตาม ความสามารถภาคทฤษฎี เครื่องมือส่วนใหญ่ใช้แบบทดสอบ มาตรฐาน ใช้วัดความสามารถทางวิชาการ ความถนัด และ ความพร้อม กระบวนการคิด การประเมินอย่างไม่เป็นทางการ เป็นการประเมิน ความสามารถภาคปฏิบัติ เน้นทักษะความสามารถในการ ทำงาน ได้แก่ บุคลิกภาพ (ทักษะการทำงานและจิตพิสัย) กระบวนการ และผลผลิต
7
วิธีการประเมินตามสภาพจริง
การประเมินตามสภาพจริงควรทำแบบค่อยเป็นค่อยไปจนเข้าใจโดยมีการวางแผนการประเมินเพื่อศึกษาผลสะท้อนกลับและภาพรวมของการประเมินว่าเข้าถึงเป้าหมายของจุดประสงค์ของการประเมินชัดเจน โดยพิจารณาดังนี้ 1. จุดประสงค์และเป้าหมายการประเมิน ขอบเขตที่ต้องการประเมิน ยุทธวิธีหรือเทคนิคที่ใช้ประเมิน การเก็บข้อมูลและประมวลผล การจัดทำบันทึกและรายงาน
8
จุดประสงค์และเป้าหมายการประเมิน
ประเมินพัฒนาและผลการเรียนรู้ ประเมินให้สอดคล้องกับจุดประสงค์การ เรียนรู้ สะท้อนให้เห็นพัฒนาการในจุดหลัก ๆ และหัวข้อการเรียนรู้ทั้งหมด
9
ขอบเขตที่ต้องการประเมิน
พัฒนาการในด้านศิลปะและดนตรี ความสามารถทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษา สังคมและวัฒธรรม ร่างกายและ บุคลิกภาพ หัวข้อหรือสาระการเรียนรู้ครอบคลุม ความรู้ ทักษะ และเจตคติ ความสามารถและพัฒนาการของผู้เรียน
10
ยุทธวิธีหรือเทคนิคที่ใช้ประเมิน
การสังเกต การบันทึกพฤติกรรม แบบสำรวจ การประมาณค่า แฟ้มสะสมงาน เครื่องมือวินิจฉัยอื่น ๆ
11
การเก็บข้อมูลและประมวลผล
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น ผู้เรียน ครู ผู้ปกครอง ระยะเวลาที่ประเมิน ระหว่างผู้เรียนทำกิจกรรม ระหว่างการทำงานกลุ่ม ในและนอกเวลา การ ประชุมสัมมนา เหตุการณ์หรืองานพิเศษ การประมวลผลโดยใช้สถิติเบื้องต้น หรือใช้โปรแกรม สำเร็จรูป เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน จุดประสงค์การเรียนรู้ เกณฑ์มาตรฐานหรือสมรรถนะรายวิชา
12
การจัดทำบันทึกและรายงาน
รายการกระบวนการปฏิบัติงาน ของผู้เรียน จากข้อมูลตามความสามารถและ พัฒนาการของผู้เรียน
13
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.