ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRajini Thanasukolwit ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹ÑªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
สารละลายกรด - เบส สารละลายกรด - เบส ¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹ÑªÑ โดย... โดย นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
2
สารละลายกรดและสารละลายเบส
แบ่งตามการเปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัส น้ำเงิน แดง ไม่เปลี่ยนสี แดง น้ำเงิน กรด กลาง เบส
3
สารละลายกรดและสารละลายเบส
* มีรสเปรี้ยว มีฤทธิ์กัด * เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง * ค่า pH น้อยกว่า 7 * มี H3O+ อยู่ในสารละลาย * ทำปฏิกิริยากับโลหะได้ แก๊ส H2 * ทำปฏิกิริยากับสารประกอบคาร์บอเนตหรือสารประกอบ ไฮโดรเจนคาร์บอเนตได้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) * ทำปฏิกิริยาสะเทินกับเบสได้เกลือกับน้ำ
4
สารละลายกรดและสารละลายเบส
สารละลายที่เป็นกลาง ไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส ค่า pH เท่ากับ 7 ตัวอย่างเช่น C2H5OH เอทานอล C6H12O6 สารละลายของน้ำตาลทราย
5
สารละลายกรดและสารละลายเบส
มีรสฝาดขม ลื่นมือคล้ายสบู่ เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน ค่า pH มากกว่า 7 มี OH - อยู่ในสารละลาย ไม่ทำปฏิกิริยากับโลหะ ทำปฏิกิริยากับเกลือแอมโมเนียมได้ก๊าซแอมโมเนีย(NH3) ทำปฏิกิริยาสะเทินกับกรดได้เกลือกับน้ำ
6
pH ของสารละลาย ความหมายของ pH วิธีการวัด pH ของสารละลาย กระดาษลิตมัส พีเอชมิเตอร์ ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์
7
pH ของสารละลาย ความหมายของ pH pH คือ ช่วงของตัวเลขที่บอกความเป็นกรด-เบส คือ pH 1-6 เป็นกรด, 7 เป็นกลาง และ เป็นเบส pH = - log [H+] pOH = - log [OH-] pH + pOH = 14
8
กรด เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง
pH ของสารละลาย วิธีการวัด pH ของสารละลาย กระดาษลิตมัส บอกได้ว่าสารละลายนั้นเป็นกรดหรือเบส กรด เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง เบส เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน
9
pH ของสารละลาย วิธีการวัด pH ของสารละลาย พีเอชมิเตอร์ (pH meter) สามารถวัด pH ของ สารละลายในช่วง pH
10
pH ของสารละลาย วิธีการวัด pH ของสารละลาย ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ คือ อินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีได้ ทุกช่วง pH เกิดจากการนำอินดิเคเตอร์หลายๆ ชนิดมา รวมกัน
11
สารละลายกรด - เบสในชีวิตประจำวันและในสิ่งมีชีวิต
สารละลายกรด - เบสในชีวิตประจำวัน มีหลายชนิด ทั้งที่เป็นอาหาร เครื่องใช้และสารในสิ่งแวดล้อม รวมทั้งของเหลวในสิ่งมีชีวิต
12
สารละลายกรด - เบสในชีวิตประจำวันและในสิ่งมีชีวิต
หินงอกหินย้อย สารละลายกรด - เบสในชีวิตประจำวัน ความเป็นกรด - เบส ในด้านการเกษตร ฝนกรด
13
สารละลายกรด - เบสในชีวิตประจำวันและในสิ่งมีชีวิต
ด้านการเกษตร ใช้ปูนขาวเติมลงไปในดิน เพื่อลดความเป็นกรดของดิน
14
สารละลายกรด - เบสในชีวิตประจำวันและในสิ่งมีชีวิต
หินงอกและหินย้อย เกิดจากกรดทำ ปฏิกิริยากับหินปูนทำให้เกิดการกร่อน ของหินปูน ดังสมการ 2H3O+(aq) + CaCO3 Ca2+(aq) + 3H2O(l) + CO2(g) เมื่อน้ำฝนไหลผ่านตามเพดานถ้ำจะ ละลายแคลเซียมคาร์บอเนตไปด้วย
15
สารละลายกรด - เบสในชีวิตประจำวันและในสิ่งมีชีวิต
ฝนกรด หมายถึงน้ำฝนที่มีค่าความเป็น กรด-เบสต่ำกว่าระดับ 5.6 กรดในน้ำฝน เกิดจากการละลายน้ำของก๊าซ CO2 SO2 NO2 NO ที่มีอยู่ในบรรยากาศ ซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และจากการกระทำของมนุ ษย์
16
คุณต้องการออกจากบทเรียนเรื่องกรด - เบส
ไม่ใช่ ใช่
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.