ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNoom Bunnag ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
โครงการ ส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพ โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
อย่างสมเหตุสมผล “2 โรค ที่ไม่ต้องใช้ยาต้านจุลชีพ” โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ปี พ.ศ.2553
2
เนื้อหา ที่มาและความสำคัญ แนวทางการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผล
โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน แผลเลือดออก
3
บทนำ การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างพร่ำเพรื่อเป็นปัญหา สำคัญระดับโลก
สาเหตุ: ปัจจัยส่วนบุคคล ผู้ป่วย: ความรู้ ความเชื่อ การเรียกร้อง & กดดัน บุคลากรทางสาธารณสุข: ความรู้ & ความเข้าใจ ที่คลาดเคลื่อน ความกดดัน ความกลัว ผลกระทบ: จน + แพ้ + เชื้อดื้อยา MRSA MDR-PA MRSA = methicillin-resistant Staphylococcus aureus MDR-PA = multidrug resistant Pseudomonas aeruginosa โครงการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผล: การนำร่องที่จังหวัดสระบุรีวารสารวิชาการสาธารณสุข 2552 (รอตีพิมพ์)
4
เหตุผล 10 ข้อ ที่ควรเข้าร่วมโครงการ
เหตุผล 10 ข้อ ที่ควรเข้าร่วมโครงการ เพราะคุณรู้ว่าเชื้อดื้อยาเป็นวิกฤติ (เหมือนภาวะโลกร้อน) และทุกคนต้องร่วมกันแก้ไข เพราะสถานพยาบาลสามารถประหยัดงบค่ายา และค่ารักษาผู้ที่แพ้และดื้อยา เพราะ สปสช. กำหนดการใช้ยาต้านจุลชีพ อย่างสมเหตุผลเป็นตัวชี้วัดคุณภาพบริการ เพราะการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลมีแนวโน้มจะเป็นนโยบายระดับประเทศ เพราะประชาชนเริ่มมองหาการรักาที่ได้มาตรฐานตามหลักวิชาการ
5
เหตุผล 10 ข้อ ที่ควรเข้าร่วมโครงการ
เหตุผล 10 ข้อ ที่ควรเข้าร่วมโครงการ 6. เพราะคุณจะได้สร้างบุญกุศลโดยการให้ผู้ป่วยได้รับ บริการที่ดีและปลอดภัย 7. เพราะคุณจะได้ตอบแทนคุณของแผ่นดิน ตามพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง 8. เพราะคุณจะเป็นหน้าหนึ่งในประวัติศาสตร์ของการแก้ไข ปัญหาสาธารณสุขของประเทศ 9. เพราะคุณจะสนุกและก้าวหน้าในการงานโดนเปลี่ยนจาก งานประจำมาเป็นงานวิจัย (Routine to Research, R2R) 10. เพราะคุณรู้...ถ้าคุณลองทำดู..คุณทำได้
6
โครงการส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพ
อย่างสมเหตุสมผล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ริเริ่มโครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล มุ่งเน้น 3 โรคหลักที่พบบ่อย คือ โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน โรคท้องร่วงเฉียบพลัน แผลเลือดออก
7
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
เล็งเห็นความสำคัญของการดำเนินการตามโครงการดังกล่าว มุ่งเน้น 2 โรค หลักที่ไม่ต้องใช้ยาต้านจุลชีพ คือ โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ และแผลเลือดออก เป็นหนึ่งในกลยุทธ์ที่ใช้ในการลดมูลค่าการใช้ยา ให้ลดลงร้อยละ 5 ตามมติของคณะกรรมการ PTC
8
วัตถุประสงค์ เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถสั่งใช้ยาต้านจุลชีพได้อย่างสมเหตุสมผลในการรักษา 2 โรคหลัก คือ โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบนและแผลเลือดออก เพื่อให้ประชาชนหรือผู้ป่วยได้รับการรักษาที่ดีมีประสิทธิภาพและความปลอดภัยตามหลักฐานทางวิชาการที่มีความน่าเชื่อถือ และมีความพึงพอใจในบริการที่ได้รับ เพื่อลดปริมาณและมูลค่าการใช้ยาต้านจุลชีพ เพื่อลดหรือชะลอการเกิดปัญหาเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ
9
กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยนอกที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ที่มีสุขภาพแข็งแรง อายุตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป และป่วยด้วย 2 โรคเป้าหมาย คือ โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบนและแผลเลือดออก โดยจะไม่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยที่มีลักษณะ ดังนี้ เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล มีอายุน้อยกว่า 2 ปี ผู้ป่วยหนัก หรือผู้ที่มีโรคหรือภาวะแทรกซ้อนรุนแรง ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือเบาหวาน
10
ตัวชี้วัด ปริมาณและมูลค่าการใช้ยาต้านจุลชีพ
สุขภาพและความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ไม่ได้รับยาต้านจุลชีพ ร้อยละของผู้ป่วยที่ไม่ได้รับยาต้านจุลชีพ
11
สื่อและอุปกรณ์ สำหรับบุคลากรทางการแพทย์
สื่อ/อุปกรณ์ วิธีการใช้ 1 คู่มือแนวทางการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุสมผลใน 2 โรคเป้าหมาย แจกแก่บุคลากรทางการแพทย์ โดยเฉพาะแพทย์ผู้สั่งใช้ยา เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการรักษา 2 โรคเป้าหมาย 2 โปสเตอร์ “แผนผังการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุสมผลใน 2 โรคเป้าหมาย” ติดโปสเตอร์ในห้องตรวจ เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการรักษา 2 โรคเป้าหมาย 3 ไฟฉายแสงขาว ใช้แทนไฟฉายแสงสีเหลืองส้ม เพื่อให้การตรวจวินิจฉัยอาการ “คอแดง” ได้แม่นยำมากขึ้น
12
สื่อและอุปกรณ์ สำหรับผู้ป่วยและประชาชน
สื่อ/อุปกรณ์ วิธีการใช้ 1 โปสเตอร์รณรงค์ “2 โรครักษาได้ไม่ต้องใช้ ยาต้านจุลชีพ” ติดโปสเตอร์ในบริเวณที่ผู้ป่วยหรือประชาชนเห็นได้ในระหว่าง รอตรวจหรือรอรับยา 2 แผ่นพับเรื่อง “2 โรครักษาได้ไม่ต้องใช้ยาต้านจุลชีพ” แจกให้กับผู้ป่วยทุกครั้งที่ได้รับและไม่ได้รับยาต้านจุลชีพในการรักษา 2 โรคเป้าหมาย 3 แผ่นซีดีเสียง เรื่อง “2 โรครักษาได้ ไม่ต้องใช้ยาต้านจุลชีพ” ใช้เพื่อเผยแพร่ผ่านเสียงตามสายภายในโรงพยาบาลและในชุมชน
13
ตัวชี้วัด ปริมาณและมูลค่าการใช้ยาต้านจุลชีพ
สุขภาพและความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ไม่ได้รับยาต้านจุลชีพ ร้อยละของผู้ป่วยที่ไม่ได้รับยาต้านจุลชีพ
14
แนวทางการใช้ยาต้านจุลชีพ ในการรักษาโรคติดเชื้อเฉียบพลัน ของระบบทางเดินหายใจส่วนบน
ประกอบด้วย โรคคอหอยอักเสบจากเชื้อ group A Streptococci (group A streptococcal pharyngitis) โรคไซนัสและเยื่อบุในจมูกอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย (bacterial rhinosinusitis) โรคหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน (acute otitis media)
15
แนวทางการใช้ยาต้านจุลชีพ ในการรักษาแผลเลือดออก
แบ่งตามประเภทแผลเลือดออก แผลสะอาด แผลปนเปื้อน แบ่งตามเชื้อก่อโรคที่พบว่าน่าจะเป็นสาเหตุของการติดเชื้อ เชื้อไวต่อยา: methicillin-sensitive S. aureus (MSSA) เชื้อดื้อยา: community-acquired methicillin-resistant S. aureus (CA-MRSA) หรือ hospital-acquired methicillin-resistant S. aureus (HA-MRSA)
16
การใช้ยาต้านจุลชีพ ในการรักษาแผลเลือดออก
ดำเนินการเป็นโครงการวิจัย ภายใต้การควบคุมของ นพ. พรชัย สินคณารักษ์ กลุ่มการพยาบาล (ER & OPD) และ กลุ่มงานเภสัชกรรม
17
ตัวอย่างสื่อที่ใช้ในโครงการ
18
ตัวอย่างสื่อที่ใช้ในโครงการ
19
ตัวอย่างสื่อที่ใช้ในโครงการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.