งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง

2 “ภูเวียงรวมใจ หมอน้อย หมอใหญ่ ไร้พุง หุ่นดี”
ภายใต้โครงการ “ภูเวียงรวมใจ หมอน้อย หมอใหญ่ ไร้พุง หุ่นดี”

3 การเตรียมการ ก.พ.51 ประชุมคนไทยไร้พุงครั้งแรก มหาสารคาม
ก.พ.51 ประชุมคนไทยไร้พุงครั้งแรก มหาสารคาม มิ.ย.51 Training for the Trainer กรมอนามัย ก.ค.51 รับนโยบายจาก สสจ. ส.ค.51 รับแนวทางการดำเนินงาน จาก ศูนย์อนามัยที่ 6 , สสจ ขอนแก่น

4 รายงานผู้บริหาร เกี่ยวกับนโยบาย / รูปแบบการดำเนินงาน
รายงานผู้บริหาร เกี่ยวกับนโยบาย / รูปแบบการดำเนินงาน

5 จัดทำคำสั่งโรงพยาบาลภูเวียง
แต่งตั้งคณะกรรมการปฏิบัติงานในโครงการ “ ภูเวียงรวมใจ หมอน้อย หมอใหญ่ ไร้พุง หุ่นดี ”

6 แจ้งหัวหน้าฝ่าย / หัวหน้างาน / คณะกรรมการบริหารรับฟังการชี้แจงโครงการ

7 เชิญคณะกรรมการประชุม
เชิญคณะกรรมการทั้ง 2 ชุด อำนวยการ ดำเนินงาน เข้าร่วมประชุม 13 สิงหาคม 2551

8 กำหนดนโยบายสาธารณะ โดยคณะกรรมการ
บุคลากรทุกคนมีการออกกำลังกายตามวิถี 5 วัน/สัปดาห์ เวลา – น. ณ สนามกีฬาโรงพยาบาล บุคลากรที่ไม่สามารถออกกำลังกายที่โรงพยาบาลได้ ให้มีกิจกรรมออกกำลังกายตามวิถีที่บ้าน อย่างน้อย 5 วัน ใน 1 สัปดาห์ ครั้งละ 30 นาที โรงพยาบาลภูเวียงจัดให้มีสนามกีฬา อุปกรณ์กีฬา ที่เพียงพอให้บุคลากรได้ออกกำลังกาย บุคลากรที่ร่วมโครงการ มีการบันทึกข้อมูลการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักและรอบเอวของตนเองเดือนละ 1 ครั้ง และนำมาสรุปประเมินผลเมื่อสิ้นสุดโครงการ

9 กำหนดนโยบายสาธารณะ โดยคณะกรรมการ
โรงพยาบาลภูเวียงส่งเสริม สนับสนุน ให้บุคลากร ทีมนำด้านสุขภาพได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะ อย่างต่อเนื่อง หน่วยงานโภชนาการของโรงพยาบาลจัดข้าวกล้องและเมนูอาหารสุขภาพแก่บุคลากรและผู้รับบริการและจัดอาหารว่างเป็นเมนูสุขภาพ เมื่อมีการจัดอบรม ประชุมภายในโรงพยาบาล บุคลากรได้รับการถ่ายทอดความรู้เรื่องอาหาร อารมณ์และการออกกำลังกาย 100 % โดยการอบรมวิชาการ อบรมภาคปฏิบัติ โรงพยาบาลภูเวียง ไม่อนุญาตให้จำหน่ายสินค้าทุกชนิดในโรงพยาบาล บุคลากรโรงพยาบาลภูเวียง ลด/งด อาหาร หวาน มัน เค็ม

10 ผลการวัดรอบเอว วัดรอบเอวครั้งที่ 1 181 คน รอบเอวเกินมาตรฐาน ชาย 18 คน
วัดรอบเอวครั้งที่ คน รอบเอวเกินมาตรฐาน ชาย 18 คน หญิง 42 คน ชาย มากที่สุด 114 ซม. หญิง มากที่สุด 109 ซม.

11 นำข้อมูลรอบเอว , พฤติกรรม จากแบบประเมินมาจัดกิจกรรมรองรับ

12 ประชาสัมพันธ์โครงการและข้อมูลบุคลากร ผ่านเสียงตามสายของโรงพยาบาล สร้างกระแส
1.เน้นการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องภายในองค์กร โดยผ่านเสียงตามสายของโรงพยาบาลทุกวัน 2.บุคลากรทีมนำส่วนใหญ่เป็นผู้สนใจเรื่องการดูแลสร้างเสริมสุขภาพ เป็นผู้มีภาพลักษณ์ที่เหมาะสม การประชาสัมพันธ์ผ่านต่อบุคคลเหล่านี้จะชัดเจน และจูงใจบุคลากรได้มาก เช่น ผอ. หัวหน้าฝ่ายเวชกรรมชุมชน กลุ่มการพยาบาล กรรมการโครงการ เป็นต้น

13 ประชาสัมพันธ์โครงการและข้อมูลบุคลากร ผ่านเสียงตามสายของโรงพยาบาล สร้างกระแส
3. จัดมุมพุงยุบได้ทอง พุงป่องได้โรคไว้เพื่อกระตุ้นให้บุคลากรได้ตระหนักและทำกิจกรรม 4. บุคลากรมีการรวมตัวกันเป็นกลุ่มสุขภาพ เช่น กลุ่มเมนูชูสุขภาพ จัดอาหารกลางวันร่วมกันและรับประทานร่วมกัน โดยเน้นอาหารสุขภาพ 5. จัดทำเอกสารคู่มือวัดรอบเอว ชั่งน้ำหนัก สำหรับบุคลากรทุกคน ให้บันทึกและประเมินการเปลี่ยนแปลงของตนเองทุกเดือน 6. การจัดหาของขวัญ รางวัล เป็นแรงจูงใจ ขวัญกำลังใจสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมและมีผลงานดีเด่น

14 จัดมุม “ ไร้พุง” ที่ฝ่ายเวชกรรมภายใต้ แนวคิด “ พุงยุบได้ทอง พุงป่องได้โรค ”

15 สรุปผลโครงการ หลังดำเนินการครบ 6 เดือน
พบว่า รอบเอวของบุคลากร ประเมินทั้งหมด 172 คน ( อีก 10 คน ย้าย , ลาออก , เกษียณ , ตั้งครรภ์ ) มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้

16 กลุ่มรอบเอวปกติ กลุ่มรอบเอวปกติ 114 คน พบว่า รอบเอวลดลงจากเดิม 57 คน
กลุ่มรอบเอวปกติ คน พบว่า รอบเอวลดลงจากเดิม 57 คน รอบเอวเท่าเดิม 14 คน รอบเอวเพิ่มขึ้นแต่ไม่เกินมาตรฐาน 38 คน รอบเอวเพิ่มขึ้นและเกินมาตรฐาน 5 คน ลดลงมากที่สุด 5 ซม. เพิ่มมากที่สุด 8 ซม. สรุป กลุ่มรอบเอวปกติ + รักษาระดับ + รอบเอวเพิ่มขึ้นแต่ไม่เกินมาตรฐาน เท่ากับ คน คิดเป็น % ( เป้าหมาย 100 % )

17 กลุ่มรอบเอวเกินมาตรฐาน
กลุ่มรอบเอวเกินมาตรฐาน 58 คน พบว่า รอบเอวลดลง 37 คน รอบเอวเท่าเดิม 6 คน รอบเอวเพิ่มขึ้น 15 คน - ลดได้มากที่สุด 5 อันดับแรก 14.5 , 11 , 9.5 , 8 , 7 ซม. ตามลำดับ - เพิ่มมากที่สุด 5 ซม. สรุป กลุ่มรอบเอวเกินมาตรฐาน ลดรอบเอวได้ % ( เป้าหมาย 80 % )

18 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google