ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ข้อเปรียบเทียบ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
ตามพรบ.บำเหน็จบำนาญพ.ศ.2494 (UNDO) สำหรับข้าราชการบำนาญ
2
1.เงินที่ได้รับเมื่อเกษียณอายุหรือลาออก
ความแตกต่างของ พรบ. 1.เงินที่ได้รับเมื่อเกษียณอายุหรือลาออก สูตรบำนาญ 2494= เงินเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ 50 (ต้องไม่เกินเงินเดือนสุดท้าย) สูตรบำนาญ 2539= เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือน x เวลาราชการ ต้องไม่เกิน 70% เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือน เงินสะสม (3%) เงินสะสมส่วนเพิ่ม (1-12%) เงินสมทบ(3%) เงินชดเชย(2%) เงินประเดิม ผลประโยชน์ตอบแทนของเงินดังกล่าว
3
ความแตกต่างของ 2 พรบ. 2.เมื่อข้าราชการบำนาญเสียชีวิตจะได้รับเงินบำเหน็จตกทอด=เงินบำนาญ x 30 เท่า พรบ.บำเหน็จบำนาญ 2494 จะได้เงินบำเหน็จตกทอด มากกว่าพรบ.บำเหน็จบำนาญ2539 เพราะได้เงินบำนาญมากกว่าเนื่องจากเงินเดือนที่นำมาคำนวณเป็นเงินเดือนเดือนสุดท้าย พรบ.กองทุนบำเหน็จบำนาญ 2539 จะได้เงินบำเหน็จตกทอดน้อยกว่า พรบ.บำเหน็จบำนาญ 2494เพราะได้เงินบำนาญน้อยกว่าเนื่องจากเงินเดือนที่นำมาคำนวณบำนาญเป็นเงินเดือนเฉลี่ย60เดือน และไม่เกิน 70 %ของเงินเดือนเฉลี่ย60เดือน
4
เงื่อนไขการใช้สิทธิUNDO
ข้าราชการบำนาญที่เคยเป็นกบข.แบบสมัครใจ แสดงความประสงค์ได้ ตั้งแต่กฎหมายใช้บังคับถึงวันที่ 30 มิ.ย.2558 ถ้ามีเงินที่ต้องคืนจะต้องคืนภายใน 30 มิ.ย.2558
5
ข้อมูลที่ต้องนำมาใช้การในการตัดสินใจ UNDO สำหรับข้าราชการบำนาญ
1.จำนวนเงินที่ต้องคืน 2.จุดคุ้มทุนจำนวนปีที่รับเงินบำนาญ พรบ. 2494ส่วนเพิ่ม กับจำนวนเงินก้อนที่ต้องคืน 3.สุขภาพของตนเอง
6
ข้าราชการบำนาญที่เลือกUNDO (กลับไปใช้พรบ.2494)
เงินที่ต้องคืน ภายใน 30 มิ.ย.2558 เงินที่ไม่ต้องคืน เงินประเดิม เงินสะสม เงินชดเชย เงินสะสมส่วนเพิ่ม เงินสมทบ ผลประโยชน์ตอบแทนของเงินดังกล่าว ผลประโยชน์ตอบแทนของเงินดังกล่าว
7
การคืนเงินโดยหักกลบลบกัน
เงินก้อนที่ต้องคืน 1.ต้องคืนรัฐ หรือ 2.รัฐต้องจ่ายคืน บำนาญส่วนเพิ่ม (บำนาญเดิม-บำนาญกบข.)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.