ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์รายงานสถานการณ์
โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (R506 GIS) สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
2
ที่มา… ทำอย่างไรบุคลากรสาธารณสุขทุกระดับ ในเขต สคร. 10 เชียงใหม่ ที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังโรคจะสามารถใช้ข้อมูลหรือสารสนเทศจากฐานข้อมูล R506 (Information Sharing) ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ?
3
เงื่อนไข ? ต้องสามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ ทุกเวลา(Easy To Access)
ต้องสามารถนำเสนอข้อมูลหรือสารสนเทศทั้งในเชิงพื้นที่และแผนภูมิ(Easy To Use) ต้องไม่สร้างข้อมูลหรือสารสนเทศขึ้นมาใหม่(No Reproduce) ต้องเป็นข้อมูลที่ถูกต้องเหมาะสม(Valid),ครบถ้วน (Complete) และเป็นปัจจุบัน(Up to date)
4
ข้อมูล ข้อมูล EPE0 จากโปรแกรม R506
ข้อมูลประชากรแยกกลุ่มอายุ และทั้งหมด ระดับ จังหวัด อำเภอ และ ตำบล ข้อมูลแผนที่ แสดงขอบเขตที่แสดงถึงจังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน
5
ผลการดำเนินงาน
6
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการเฝ้าระวังควบคุมโรค สคร 10 เชียงใหม่
7
เลือกพื้นที่ (Drill Down) ส่วนกำหนดเงื่อนไข
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์รายงานสถานการณ์โรคในระบบเฝ้าระวัง (รง.506) Navigator (Roll Up) เลือกพื้นที่ (Drill Down) ส่วนกำหนดเงื่อนไข คำอธิบายสัญลักษณ์ ส่วนแสดงแผนที่ ตารางและแผนภูมิ
8
ส่วนกำหนดเงื่อนไขการแสดงผล
เลือกดูข้อมูลโรคที่สนใจ เลือกข้อมูลตามตัวชี้วัด วิเคราะห์ข้อมูลเป็นรายสัปดาห์
9
สัญลักษณ์แผนที่บอกระดับจำนวนผู้ป่วย
มีการเปลี่ยนระดับขึ้นอยู่กับข้อมูล โดยใช้ค่า (สูงสุด-ค่าต่ำสุด)/5 แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ส่วนที่ไม่มีข้อมูลจะเป็นสีขาว แสดงเป็นจุดในมุมมอง หมู่บ้าน แสดงเป็นแถบสี ในมุมมอง เขตสคร ,จังหวัด, อำเภอ และ ตำบล
10
ตัวอย่าง เลือกดูข้อมูลโรค D.H.F,Total(26,27,66)(รวม) เลือกตัวชี้วัด
อัตราป่วยต่อ ปชก.แสนคน ช่วงเวลา ปี 2556 สัปดาห์ที่ 21 ถึง 35
11
ข้อมูลเชิงพื้นที่
12
รายงานตารางสรุปรวม โรค D.H.F,Total(26,27,66)(รวม) ปี 2556 สัปดาห์ที่ 21 ถึง 35 พื้นที่เขต สคร. 10 ผู้ป่วยรวมทั้งหมด 23,810 ราย คิดเป็น อัตราป่วยต่อปชก.แสน สูงสุดคือ จ.เชียงราย 9,604 ราย จำนวนผู้ป่วยตาย รวม 15 ราย สูงสุดคือ จ.เชียงราย 9 ราย จำนวนประชากรรวมทั้งสิ้นประมาณ 5,749,913 สูงสุดคือ จ.เชียงใหม่ 1,670,317
13
อัตราป่วยสูงสุดคือ จ.เชียงราย (782.52) ต่ำสุดคือ จ.น่าน (123.53)
รายงานเปรียบเทียบรายพื้นที่ อัตราป่วยต่อ ปชก.แสนคน โรค D.H.F,Total(26,27,66)(รวม) ปี 2556 สัปดาห์ที่ 21 ถึง 35 พื้นที่เขต สคร. 10 รายจังหวัด อัตราป่วยสูงสุดคือ จ.เชียงราย (782.52) ต่ำสุดคือ จ.น่าน (123.53)
14
รายงานตามกลุ่มอายุ อัตราป่วยต่อ ปชก.แสนคน โรค D.H.F,Total(26,27,66)(รวม) ปี 2556 สัปดาห์ที่ 21 ถึง 35 พื้นที่เขต สคร. 10 อัตราป่วยสูงสุดในช่วงอายุ ปี (661.66) รองลงมาคือ ปี (638.22)
15
รายงานรายอำเภอ 10 อันดับแรก
อัตราป่วยต่อ ปชก.แสนคน โรค D.H.F,Total(26,27,66)(รวม) ปี 2556 สัปดาห์ที่ 21 ถึง 35 พื้นที่เขต สคร. 10 รายอำเภอ 10 อันดับแรก อัตราป่วยสูงสุดคือ อ.แม่สาย จ.เชียงราย ( ) รองลงมาคือ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย ( )
16
อัตราป่วยสูงสุดสัปดาห์ที่ 27-28-29
รายงานแนวโน้มรายสัปดาห์ อัตราป่วยต่อ ปชก.แสนคน โรค D.H.F,Total(26,27,66)(รวม) ปี 2556 สัปดาห์ที่ 21 ถึง 35 พื้นที่เขต สคร. 10 อัตราป่วยสูงสุดสัปดาห์ที่
17
อัตราป่วยสูงสุดเดือนกรกฎาคม
รายงานแนวโน้มรายเดือน อัตราป่วยต่อ ปชก.แสนคน โรค D.H.F,Total(26,27,66)(รวม) ปี 2556 พื้นที่เขต สคร. 10 อัตราป่วยสูงสุดเดือนกรกฎาคม
18
อัตราป่วยปี 2556 สูงสุดในรอบ 10 ปี
รายงาน Trend 10 ปี อัตราป่วยต่อ ปชก.แสนคน โรค D.H.F,Total(26,27,66)(รวม) พื้นที่เขต สคร. 10 อัตราป่วยปี 2556 สูงสุดในรอบ 10 ปี
19
การออกรายงานเป็น Ms Excel
20
การออกรายงานเป็น Ms Excel
21
Drill Down & Roll Up
22
Drill Down เป็นการเพิ่มรายละเอียดในการพิจารณาข้อมูลจากระดับ ที่หยาบไปสู่ระดับที่ละเอียดที่มากขึ้น การดูข้อมูลสรุปในแต่ละพื้นที่ สคร.10 >> จังหวัด>>อำเภอ>>ตำบล >>หมู่บ้าน
23
Roll up / Consolidation
เป็นกระบวนการตรงกันข้ามกับ Dill Down หมายถึงการเปลี่ยนแปลงระดับความละเอียดของการพิจารณาข้อมูล จากระดับที่ละเอียดขึ้นมาสู่ระดับที่หยาบมากขึ้น หมู่บ้าน >> ตำบล>>อำเภอ>>จังหวัด>>สคร. 10 โดยการคลิกที่แถบ นำทาง (Navigator)
24
Drill Down & Roll Up เขต สคร. 10
25
Drill Down & Roll Up เขตตรวจราชการที่ 16
26
Drill Down & Roll Up จ.เชียงราย
27
Drill Down & Roll Up อ.แม่สาย จ.เชียงราย
28
Drill Down & Roll Up ต.เวียงพางคำ อ.แม่สาย จ.เชียงราย
29
ประโยชน์ที่จะได้รับ เจ้าหน้าที่ สคร.10 จังหวัดเชียงใหม่ ความรู้ความสามารถในการนำเสนอข้อมูลทางระบาดวิทยาด้วยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์(Geographic Information System-GIS.) ได้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์(Geographic Information System-GIS.) ด้านระบาดวิทยาของ สคร. 10 เชียงใหม่
30
ประโยชน์ที่จะได้รับ (ต่อ)
มีการนำเสนอข้อมูลหรือสารสนเทศด้านระบาดวิทยาโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ให้กับบุคลากรสาธารณสุขในเขต สคร.10 เชียงใหม่ อย่างครบถ้วน ทันเวลาและเป็นปัจจุบัน
31
รายละเอียดเพิ่มเติม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.