ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
ชื่อ ดอกพุดจีบ Pudhib flowers ผู้จัดทำ น.ส.อารียา ธิดาวงค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
3
พุดจีบ พุดจีบ (อังกฤษ Pudhib flowers)
“พุดจีบ” มีถิ่นกำเนิดจาก ประเทศอินเดีย แต่ก็ระบุด้วยว่าพบขึ้นในป่าดิบ ทางภาคเหนือของประเทศ ไทยเช่นกัน ซึ่ง “พุดจีบ” นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ
4
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ พุดจีบเป็นไม้พุ่มสูงประมาณ 2-3 ม.แตกกิ่งก้านเป็นพุ่ม มีการทิ้งใบของส่วนต้นด้านล่าง ทำให้พุ่มโปร่ง ใบเป็นใบเดี่ยว เกิด เรียงกันแบบตรงข้าม ใบรูปรีขอบขนานถึงรูปไข่ ขนาดกว้าง ซม. ยาว 9-14 ซม. ปลายและโคนใบแหลม ดอกเป็นดอกเดี่ยว เกิดอยู่เป็นช่อตาม ปลายกิ่ง ดอกมี 5-10 กลีบ สีขาว ปลายกลีบป็นคลื่นและหมุนเวียนซ้อนกันไป ผลเกิดเป็นคู่ติดกัน ผลเกิดเป็นคู่ติดกัน แต่ละผลคล้ายทรงสามเหลี่ยมมีขอบเป็นเส้นนูน ด้าน หนึ่งโค้งขึ้น ภายในมีเมล็ด 3-6 เมล็ดอยู่ในเนื้อผลสี
5
พุดจีบ - ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ervatamia eornaria Stapf
- วงศ์ : APOCYNACEAE - ชื่อสามัญ : East Indian Rosebay Crepe Jasmine - การขยายพันธุ์ : ปักชำกิ่ง หรือเพาะเมล็ด - ลักษณะเด่น : ออกดอกตลอดปี
6
ดอก : ส่วนมากจะออกดอกเป็นดอกเดี่ยว
อยู่ตามง่ามกิ่งตอน ใกล้ ๆ กับตรงส่วนยอด ลักษณะของดอกเหมือน ๆกับดอกพุดจีบ ดอกของพุดซ้อนจะมีสีขาว และกลีบดอกจะซ้อน
7
ใบจะมีความยาวประมาณ 2-2.5 นิ้ว มีสีเขียวเข้ม ใบจะเหมือน ๆ กับพุดจีบ
ใบ : พุดซ้อนเป็นไม้ที่มีใบหนาแน่น ทำให้ดูทึบ ลักษณะของใบรูปมนรี ปลายใบแหลม ใบจะมีความยาวประมาณ นิ้ว มีสีเขียวเข้ม ใบจะเหมือน ๆ กับพุดจีบ แต่จะผิดกันก็ตรงที่ไม่มียางสีขาวเท่านั้น ต้น : เป็นพรรณไม้พุ่มเตี้ย มีลักษณะลำต้นคล้ายกับพุดจีบ จะผิดกันก็ตรงที่ว่าพุดซ้อนจะไม่มีสีขาวอยู่ในต้นและใบ เหมือนพุดจีบ
8
ส่วนของเนื้อผลที่สุกแก่แล้วใช้เป็นสีย้อมให้สีส้มแดง
การใช้ประโยชน์: นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ส่วนของรากใช้เคี้ยวบรรเทาอาการปวดฟัน ส่วนของเนื้อผลที่สุกแก่แล้วใช้เป็นสีย้อมให้สีส้มแดง
9
The Bed
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.