งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา 13.00 น .

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา 13.00 น ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น . – น. วันพุธที่ 17 ตุลาคม พ.ศ ณ อาคารมหิตลาธิเบศร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร

2 การวิเคราะห์ข้อทดสอบตามแบบราช (RASCH MODEL )ด้วยโปรแกรม BICAL
ใช้วิเคราะห์ข้อทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบไม่เกิน 5 ตัวเลือก ที่มีคำตอบถูกต้องเพียงคำตอบเดียวและให้คะแนนแบบ 0,1 เท่านั้น วิเคราะห์ได้ครั้งละไม่เกิน 480 ข้อแบะผู้สอบไม่เกิน 1,000 คน

3 ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรมราช
ค่าความยากของข้อทดสอบแต่ละข้อ ค่าความสามารถของผู้สอบแต่ละคน คะแนนสอบและความถี่ของคะแนน ค่าความสามารถในการจำแนก (separability) ของแบบทดสอบ โค้งลักษณะเฉพาะของแบบทดสอบ

4 ระดับความสามารถ เกณฑ์ที่บ่งบอกว่ารู้เรียนมีความรู้ความสามารถที่จะทำกิจกรรมอย่างไรได้บ้าง โดยทั่วไปมักวัดระดับความสามารถโดยการอาศัยวิธีการกำหนดระดับคะแนน ด้วยวิธีการอิงกลุ่ม

5 การกำหนดระดับความสามารถ
ใช้วิธีการประเมินผลแบบอิงกลุ่ม (Norm – Referenced Evaluation) ใช้วิธีการประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ ( Criterion – Referenced Evaluation)

6 วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียนทำได้หลายวิธี ดังนี้
วิธีการกำหนดร้อยละของผู้เรียนในแต่ละระดับความสามารถตามทฤษฎี วิธีการกำหนดร้อยละของผู้เรียนในแต่ละระดับความสามารถเอง วิธีการใช้คะแนนดิบ วิธีการใช้พิสัยของคะแนนดิบ วิธีการใช้ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิธีการใช้ค่าเฉลี่ยและค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการวัด วิธีการใช้คะแนนมาตรฐานที

7 วิธีการกำหนดระดับความสามารถแบบอิงเกณฑ์ มีหลายวิธีดังนี้
วิธีการวิเคราะห์ข้อทดสอบด้วยรูปแบบราช วิธีการใช้เกณฑ์ค่าสัมบูรณ์ วิธีการใช้เกณฑ์เทียบเคียง

8 ขั้นตอนการกำหนดระดับความสามารถ
สร้างแบบทดสอบปรนัยจำนวนอย่างน้อย 25 ข้อ นำแบบทดสอบไปสอบกับผู้เรียนอย่างน้อย 100 คน นำข้อสอบแต่ละข้อมากำหนดรหัสระบุสิ่งที่ข้อสอบมุ่งทำการทดสอบ (วัตถุประสงค์) นำผลการสอบมาวิเคราะห์ข้อสอบรายข้อด้วยโปรแกรมแบบราช นำผลการวิเคราะห์ส่วนที่เป็น Map of Variables มากำหนดระดับความสามารถ

9 รายละเอียดการกำหนดระดับความสามารถ
-2.99 ถึง ระดับ Rudimentary ถึง – 1.00 ระดับ Funda mental 0.00 ถึง ระดับ Lower Intermediate 0.00 ถึง ระดับ Upper Intermediate 1.00 ถึง 1.99 ระดับ Advanced +2.00 ถึง ระดับ Superior

10 จุดอ่อนของการวิเคราะห์แบบประเพณีนิยม
ธรรมชาติและขนาดของกลุ่มตัวอย่างมีผลต่อความถูกต้องของค่าสถิติ การคัดเลือกข้อสอบที่ดีทำให้ค่าความเที่ยงและอำนาจจำแนกผิดพลาด แก้ปัญหาเรื่องการเดาไม่ได้ จำนวนผู้ตอบแต่ละข้อต่างกันทำให้ค่าความยากผิดพลาด ความยากของข้อสอบมีผลต่อค่าอำนาจจำแนกและความเที่ยง

11 แนวคิดของการทดสอบตามทฤษฎีตามตอบสนองต่อข้อทดสอบ
ความยาก – ง่ายของข้อทดสอบ ค่าอำนานจำแนกของข้อทดสอบ โอกาสในการเดาถูก ความคลาดเคลื่อนอื่นๆ

12 แนวคิดของ IRT แบบหาค่าหนึ่งพารามิเตอร์ คือ ค่าความยาก
แบบหาค่าสองพารามิเตอร์ คือ ค่าความยากและค่าอำนาจจำแนก แบบหาค่าสามพารามิเตอร์ คือ ค่าความยาก ค่าอำนานจำแนก และค่าการเดาถูก แบบหาค่าสี่พารามิเตอร์ คือ ค่าความยาก ค่าอำนานจำแนก ค่าการเดาถูก และค่าความคลาดเคลื่อนอื่นๆ

13 ประโยชน์ของการวิเคราะห์ข้อสอบแบบ IRT
ได้ค่าสถิติที่ไม่แปรเปลี่ยนไปตามกลุ่มตัวอย่าง ไม่จำเป็นต้องใช้กลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ก็ได้ มีประโยชน์ทางการวัดผลมากกว่าเดิม

14 ข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์แบบ IRT
แบบทดสอบวัดความสามารถเพียงมิติเดียว ข้อสอบแต่ละข้อเป็นอิสระจากตำแหน่ง ข้อสอบเป็นการวัดแบบถูกหรือผิดเท่านั้น ตัวอย่างมีไม่น้อยกว่า 100 คน และถ้าให้ดีควรมีมากกว่า 1000 คน ข้อสอบมีไม่น้อยกว่า 25 ข้อ

15 การวิเคราะห์ข้อทดสอบปรนัยแบบหนึ่งพารามิเตอร์หรือแบบราชด้วยคอมพิวเตอร์ (การเตรียมข้อมูล)
ใช้เครื่องตรวจข้อสอบ ใช้โปรแกรม Notepad ใช้โปรแกรม Wordpad ใช้โปรแกรม Ms Word แล้ว Save เป็น Text File ใช้โปรแกรม Ms Excel แล้ว Save เป็น Text File

16 ลักษณะข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์
Somsri Somying


ดาวน์โหลด ppt โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา 13.00 น .

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google