ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูลผ่าน ODBC
2
การติดต่อฐานข้อมูล ODBC
ODBC (Open Database Connectivity) เป็นรูปแบบการติดต่อฐานข้อมูลไมโครซอฟต์ Microsoft Access, Microsoft FoxPro, Visual FoxPro, dBase และ Excel ฐานข้อมูลอื่นๆ ที่มีไดร์เวอร์ติดตั้งกับระบบปฏิบัติการ
3
ฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อ
odbc_connect() สำหรับการติดต่อ ODBC data source ซึ่งต้องใช้ Data Source Name(DSN), ชื่อผู้ใช้ และรหัสผ่าน odbc_prepare() สำหรับเตรียมสร้างคำสั่ง SQL เพื่อการเอ็กซิคิวต์ odbc_execute() สำหรับเอ็กซิคิวต์คำสั่ง SQL odbc_result_all() สำหรับแสดงผลลัพธ์ในรูปแบบตารางของ HTML
4
ฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อ
odbc_free_result() สำหรับปล่อยให้ resourceเป็นอิสระจากการติดต่อ odbc_close() สำหรับปิดการติดต่อที่กำลังดำเนินอยู่ในปัจจุบัน
5
ขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูล
1. สร้างส่วนเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลด้วยคำสั่ง odbc_connect() ดังนี้ $connection = odbc_connect(“DataSourceName”,”username”,”password”) or die(“ติดต่อ DataSource ไม่ได้”); โดยที่ $connection คือตัวแปรที่ใช้ติดต่อ Datasource DataSourceName คือชื่อ Data Source Name
6
ขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูล
Username คือชื่อผู้ใช้ Password คือรหัสผ่านสำหรับการเข้าใช้ฐานข้อมูล Die() คือ ฟังก์ชันที่ใช้ในการแจ้งข่าวสาร เมื่อติดต่อเซิร์ฟเวอร์ไม่ได้และออกจากสคริปต์โดยไม่มีการดำเนินการใด ๆ เพิ่มเติม
7
ขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูล
2. สร้างคำสั่ง SQL เพื่อนำข้อมูลมาแสดงผล โดยมีรูปแบบคำสั่งดังนี้ $sql = “SELECT field 1, field 2,…, fieldn FROM tablename ORDER BY fieldname strorder”; $sql คือตัวแปรที่เก็บคำส่ง SQL field 1, field 2,…., fieldn คือ ชื่อฟิลด์ที่ต้องการใช้ (ถ้าเลือกทุกฟิลด์ใช้คำสั่ง select *)
8
ขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูล
tablename คือ ชื่อตารางที่อยู่ในฐานข้อมูลนั้น fieldname คือ ชื่อ ฟิลด์ที่ต้องการเรียงลำดับ strorder คือ รูปแบบการเรียงข้อมูล ไก้แก่ ASC (เรียงจากน้อยไปมาก) และ DESC (เรียงจากมากไปน้อย)
9
ขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูล
3. สร้างตัวแปรเพื่อเก็บคำสั่ง SQL ที่เตรียมไว้ โดยใช้ฟังก์ชัน odbc_prepare() ซึ่งมีรูปแบบของคำสั่งดังนี้ $sql_statement = odbc_prepare($connection,$sql) or die(“เตรียมคิวรีไม่ได้”);
10
ขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูล
4.สร้างตัวแปรเพื่อเก็บผลของคิวรีที่ประมวลผลด้วยฟังก์ชัน odbc_execute() ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ $sql_result = odbc_execute($sql_statement) or die(“ประมวลผล สั่งไม่ได้”); 5.เป็นขั้นตอนนำข้อมูลไปประมวลผลเช่นการแสดงผลในลักษณะตารางของ HTML ด้วยฟังก์ชัน odbc_result_all() ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ odbc_resolt_all($sql_result, “border=1”);
11
ขั้นตอนการติดต่อกับฐานข้อมูล
6.เป็นขั้นตอนการปล่อยอิสระResourceจากการติดต่อ และปิดการติดต่อ โดยฟังก์ชัน odbc_free_result() และ odbc_close() มีรูปแบบดังนี้ odbc_free_result($sql_result); odbc_close($connection);
12
สรุปคำสั่งและฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อกับฐานข้อมูลผ่าน ODBC
<?php // เริ่มการติดต่อ data source $connection = odbc_connect(“DataSourceName”, “username”,”password”) or die(“ติดต่อ data source ไม่ได้”); // สร้าคำสั่ง SQL $sql = “SELECT field1,field2 FROM database_name ORDER BY field_name”;
13
สรุปคำสั่งและฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อกับฐานข้อมูลผ่าน ODBC
// เตรียมคำสั่ง SQL $sql_statement = odbc_prepare($connection,$sql) or die(“เตรียมคิวรีไม่ได้”) // แสดงผลลัพธ์ในรูปแบบตาราง HTML odbc_result_all($sql{resuslt, “border=1” // ปล่อยให้resourceเป็นอิสระจากการติดต่อ และปิดการติดต่อ odbc_free_result($sql_result); odbc_close($connection); ?>
14
การเขียนโปรแกรมแสดงผล
มีขั้นตอนดังนี้ 1. เริ่มติดต่อฐานข้อมูล 2. เขียนคำสั่ง SQL และเอ็กซิคิวต์ 3. แสดงข้อมูล 4. ปิดการติดต่อฐานข้อมูล
15
ติดต่อฐานข้อมูล ใช้ฟังก์ชัน odbc_connect() ซึ่งมีรูปแบบดังนี้
odbc_connect($dsn, $user, $password) or die(“message”) โดยที่ $dsn คือข้อความที่เป็นชื่อ DSN $user คือชื่อล็อกอิน $password คือ รหัสผ่านสำหรับเข้าใช้ฐานข้อมูลตามที่กำหนดใช้ DSN or die(“message”) คือข้อความเพื่อแจ้งว่าติดต่อฐานข้อมูลไม่ได้
16
ตัวอย่าง การติดต่อฐานข้อมูลผ่าน ODBC ทาง DSN ที่ชื่อ bookshop โดยไม่มีชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน $dsn = “bookshop” $user = “”; $pass = “”; $connect = odbc_connect($dsn, $user, $pass);
17
เขียนคำสั่ง SQL และประมวลผล
การเขียนคำสั่ง SQL แล้วสั่งประมวลผล โดยใช้ฟังก์ชัน odbc_exec() มีรูปแบบการดังนี้ SELECT field1, field2,…,fieldN FROM tblname สำหรับเลือกฟิลด์ที่ต้องการ SELECT * FROM tblname สำหรับเลือกทุกฟิลด์ โดยที่ field1, field2,…,fieldN คือชื่อฟิลด์ที่ต้องการแแสดงข้อมูล * แทนการเลือกทุกฟิลด์ tblname คือชื่อตารางที่ต้องการใช้
18
ตัวอย่าง $sql = “select * from book;
odbc_exec($connect, $sql); //ในกรณีสั่งเอ็กซิคิวต์โดยตรง $exec = odbc_exec($connect, $sql); //ในกรณีเก็บเป็นตัวแปรเพื่อแสงดค่าฟิลด์ต่าง ๆ
19
การแสดงผลในรูปแบบตาราง
ใช้ฟังก์ชัน odbc_result_all() ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ odbc_result_all($exec, “border = 1”); โดยที่ $exec คือตัวแปรที่เก็บการเอ็กซิคิวต์คำสั่ง SQL การปิดการติดต่อฐานข้อมูล โดยใช้คำสั่ง odbc_free_result() และ odbc_close() ดังนี้ odbc_free_result($exec); odbc_close($connect); โดยที่ $exec คือตัวแปรที่เก็บการเอ็กซิคิวต์คำสั่ง SQL $connect คือตัวแปรที่เก็บการติดต่อ
20
ตัวอย่าง ตัวอย่าง exodbc01.php เป็นคำสั่งที่ติดต่อฐานข้อมูลผ่าน DSN ที่ชื่อ Bookshop แสดงข้อมูลแบบตาราง
21
การแสดงชื่อและจำนวนฟิลด์
ใช้ฟังก์ชัน odbc_num_field(), odbc_field_name() และ odbc_field_type() ตามลำดับ ตัวอย่าง exodbc02.php เป็นตัวอย่างที่ได้ผลลัพธ์แสดงจำนวน, ชื่อ และประเภทฟิลด์ในตาราง
22
การแสดงจำนวนระเบียนข้อมูล
ใช้ฟังก์ชัน odbc_num_row() ดังตัวอย่าง <?php $dsn = “bookshop”; // กำหนดชื่อ DSN $user = “”; // กำหนดชื่อล็อกอิน $pass = “”; // กำหนดรหัสผ่าน $connect = odbc_connect($dsn, $user, $pass) or die (“ติดต่อ DSN ไม่ได้”); // เริ่มติดต่อฐานข้อมูล $sql = “select * from book”; // กำหนดคำสั่ง SQL เพื่อแสดงข้อมูล $exec = odbc_exec($connect, $sql); // เริ่มเอ็กซิคิวต์คำสั่ง SQL $num_rows = odbc_num_rows($exec); // ตัวแปรจำนวนเรกคอร์ด echo “ตาราง Book มีจำนวนเรกคอร์ด = <Font color = red>”. $num_rows; odbc_close($connect); // ปิดการเชื่อมต่อ ?>
23
การแสดงข้อมูลทั้งหมดโดยการเลื่อนพอยน์เตอร์
ฟังก์ชัน odbc_fetch_row() ใช้การเลื่อนพอยน์เตอร์ ตัวอย่าง exodbc04.php
24
การเพิ่มข้อมูล ใช้คำสั่ง insert into มีรูปแบบคือ
insert into tbname (field1, field2,…, fieldn) values (‘val1’, ‘val2’, ‘val3’,…, ‘valn’); ตัวอย่าง exodbc05.php การเพิ่มข้อมูลโดยพิมพ์ข้อมูลในคำสั่ง sql exodbc06.php การเพิ่มข้อมูลโดยใช้คำสั่ง sqlและฟอร์ม
25
โปรแกรมค้นหาข้อมูล การค้นหาด้วย PHP มี 2 วิธีคือ
การค้นหาข้อมูลโดยการใช้คำสั่ง SQL ตรง ๆ การค้นหาข้อมูลโดยการให้ผู้ใช้กรอกคำสั่งที่ต้องการค้นหา ทั้ง 2 วิธีจะใช้คำสั่ง select * form tblname where condition ตัวอย่าง exodbc08.php ตัวอย่าง exodbc09.php, exodbc10.php
26
การแก้ไขข้อมูล การค้นหาด้วย PHP มี 2 วิธีคือ
การแก้ไขข้อมูลโดยการใช้คำสั่ง SQL ตรง ๆ การแก้ไขข้อมูลโดยให้ผู้ใช้กรอกข้อมูลผ่านฟอร์มแล้ว ส่งค่าไปแก้ไขข้อมูลในฐานข้อมูล ทั้ง 2 วิธีจะใช้คำสั่ง UPDATE tblname SET field1 = ‘new_value’ , field2 = ‘new_value’ , … WHERE condition; ตัวอย่าง exodbc11.php ตัวอย่าง exodbc12.php, exodbc13.php, exodbc14.php
27
การลบข้อมูล ใช้คำสั่ง delete มีรุปแบบดังนี้
Delete from tblname where condition ตัวอย่าง exodbc19.php เป็นการลบข้อมูลจากฐานข้อมูล ด้วยคำสั่ง SQL โดยตรง ตัวอย่าง exodbc20.php เป็นการลบข้อมูลโดยการรับคีย์จากผู้ใช้
28
การแบ่งแสดงผลเป็นหน้า (Paging)
ตัวอย่าง exodbc26.php
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.