งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรครากเน่าโคนเน่าส้ม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรครากเน่าโคนเน่าส้ม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรครากเน่าโคนเน่าส้ม

2 โรครากเน่าโคนเน่าของมะเขือเทศ

3

4

5

6

7

8

9 โรคเหี่ยวของโหระพา

10 วิธีการนำไปใช้

11 1. คลุกกับเมล็ด เชื้อราไตรโคเดอร์มา : เมล็ดพันธุ์ 20-30 กรัม : ก.ก.

12 2. หว่านลงดิน เชื้อราไตรโคเดอร์มา : รำละเอียด : ปุ๋ยหมัก
1 ก.ก ก.ก ก.ก.

13 พืชผัก ผักกินใบ ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาที่ผสมแล้ว 130-150 กก./ไร่
ผักกินผล ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาที่ผสมแล้ว 30 กรัม/ หลุม

14 โรยโคนต้น 30 กรัม/ต้น

15 ไม้ผล รองก้นหลุม 500 กรัม/ หลุม อายุ 5 ปี ลงมาใช้ 2-3 ก.ก./ ต้น
รองก้นหลุม 500 กรัม/ หลุม อายุ 5 ปี ลงมาใช้ 2-3 ก.ก./ ต้น อายุ 5 ปี ขึ้นไป ใช้ 3-5 ก.ก./ ต้น

16 ระยะเวลาคุ้มกันเชื้อรา สาเหตุโรคพืช 4 1/2 - 6 เดือน
ระยะเวลาคุ้มกันเชื้อรา สาเหตุโรคพืช 4 1/2 - 6 เดือน

17 เชื้อสด 1 กิโลกรัม / น้ำ 200 ลิตร
3. ฉีดลงดิน เติมน้ำแล้วกวนเพื่อล้างสปอร์

18 กรองเอาแต่น้ำสปอร์

19 เติมน้ำที่ล้างสปอร์(เชื้อรา 1 กิโลกรัม )/ น้ำ 200 ลิตร

20

21 ข้อควรระวัง 1. หลังจากหว่านเชื้อราไตรโคเดอร์มาแล้ว ควรมีวัสดุคลุมดิน
1. หลังจากหว่านเชื้อราไตรโคเดอร์มาแล้ว ควรมีวัสดุคลุมดิน 2. ไม่ ควรหว่านเชื้อราไตรโคเดอร์มาพร้อมกับการใช้สารเคมีป้องกันและกำจัดเชื้อราหรือปุ๋ยเคมีในเวลาเดียวกัน 3. หลังจากหว่านเชื้อราไตรโคเดอร์มาประมาณ 9-10 วัน ควรให้มีความชื้นในดินอยู่ตลอด 4. ไม่ควรผลิต/ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาใกล้บริเวณที่เพาะเห็ด

22 ให้ได้ผลดีต้องควบคู่กับการปรับปรุง บำรุงดิน โดยการใช้ปุ๋ยคอก
การใช้เชื้อรา ไตรโคเดอร์มา ให้ได้ผลดีต้องควบคู่กับการปรับปรุง บำรุงดิน โดยการใช้ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก

23 เชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด
การผลิตขยาย เชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด

24 อุปกรณ์การผลิตเชื้อสด
หม้อหุงข้าวไฟฟ้า หัวเชื้อราไตรโคเดอร์มา ข้าวสาร ยางวง เข็ม น้ำ ถุงพลาสติกทนร้อนขนาด 8x12 นิ้ว

25 ข้าวสาร (3 ส่วน)+ น้ำสะอาด (2 ส่วน) *ถ้าข้าวนิ่มเกินไปให้ใช้
ข้าวสาร (2 ส่วน) + น้ำสะอาด (1 ส่วน) ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดสุพรรณบุรี สาขากาญจนบุรี

26 ข้าวสุกเป็นไตขาว

27 ตักข้าวขณะร้อนใส่ถุง

28 ตักข้าวขณะร้อนใส่ถุง
250 กรัม/ถุง ข้าวสุก 1 กก. ใส่ได้ 4ถุง

29 พับปากถุงลงด้านล่าง ปล่อยให้ข้าวอุ่น (เกือบเย็น)

30

31 เหยาะหัวเชื้อ

32

33 รัดยางตรงปลายปากถุงให้แน่น

34 เขย่าหรือบีบข้าวเบาๆเพื่อให้หัวเชื้อกระจายทั่วทั้งถุง

35 รวบถุงให้พองบริเวณปากถุง
ใช้เข็มแทง 20-30 ครั้ง/ถุง

36 วางถุงข้าวสุกในลักษณะแบนราบ ไม่ซ้อนทับกัน
(ในที่มีแสงสว่าง ปลอดจากมด ไร และสัตว์อื่นๆ)

37 หลังบ่มเชื้อ 3 วัน

38

39 คลุกเคล้าข้าวสุกกับเชื้อในถุงอีกครั้ง

40 หลังบ่มเชื้อ 7 วัน

41

42

43


ดาวน์โหลด ppt โรครากเน่าโคนเน่าส้ม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google