ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กฎหมายมรดก การรับมรดกแทนที่
2
Faculty of Law
3
เหตุที่จะทำให้เกิดการรับมรดกแทนที่
ได้แก่ บุคคลที่จะเป็นทายาทตามมาตรา 1629 (1) (3) (4) หรือ (6) ถึงแก่ความตายก่อนเจ้ามรดก Faculty of Law
4
ข้อสังเกต การที่ทายาทตาม ม.1629 (1) (3) (4) หรือ (6) ถึงแก่ความพร้อมกับเจ้ามรดก ทายาทดังกล่าวไม่มีสิทธิรับมรดกของเจ้ามรดก แต่การที่ทายาทตาม ม (1) (3) (4) หรือ (6) ถึงแก่ความพร้อมกับเจ้ามรดก ผู้สืบสันดานของทายาทนั้นมีสิทธิรับมรดกแทนที่ ทายาทนั้นได้ Faculty of Law
5
เจ้ามรดกและทายาทตายพร้อมกัน
เจ้ามรดกตาย ทายาทตาย รับมรดกตามปกติ มรดกตกทอดแก่ผู้สืบสันดาน ทายาทตาย เจ้ามรดกตาย รับมรดกแทนที่ ผู้สืบสันดานเข้ารับมรดกแทนที่ เจ้ามรดกและทายาทตายพร้อมกัน ผู้สืบสันดานเข้ารับมรดกแทนที่? Faculty of Law
6
ทายาทที่จะถูกรับมรดกแทนที่
ได้แก่ บุคคลซึ่งจะเป็นทายาทโดยธรรมตาม ม.1629 (1) (3) (4) และ (6) เท่านั้น ส่วนบุคคลอื่นนอกจากนี้แม้จะถึงแก่ความตายหรือถูกกำจัดมิให้รับมรดกก่อนเจ้ามรดกตายก็ไม่เกิดการรับมรดกแทนที่ อันได้แก่ Faculty of Law
7
ก. ทายาทโดยธรรมประเภทญาติตามมาตรา 1629 (2) และ (5) ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 1641
เพราะจะทำให้ทายาทต่างลำดับของเจ้ามรดกมีสิทธิได้รับมรดกพร้อมกัน ซึ่งขัดกับหลักการตกทอดกองมรดกตาม ม.1630 ว.1(ทายาทต่างลำดับไม่มีสิทธิได้รับมรดกพร้อมกันยกเว้น 1 กับ 2) Faculty of Law
8
ตายก่อนเจ้ามรดก (2) (3,4) เจ้ามรดก คู่สมรส (1) ดำ แดง มารดา บิดา พี่
น้อง เจ้ามรดก คู่สมรส (1) ดำ แดง Faculty of Law
9
(5) (6) (2) เจ้ามรดก คู่สมรส ปู่ ย่า มารดา บิดา น้า อา ลุง ป้า
ตายก่อนเจ้ามรดก (6) (2) มารดา บิดา น้า อา ลุง ป้า เจ้ามรดก คู่สมรส Faculty of Law
10
ข. ทายาทโดยธรรมประเภทคู่สมรส
ข. ทายาทโดยธรรมประเภทคู่สมรส เพราะบุคคลซึ่งจะรับมรดกแทนที่ได้แก่ ผู้สืบสันดานของเจ้ามรดกนั้นเองซึ่งมีฐานะเป็นทายาทโดยธรรมในลำดับ (1) ซึ่งมีสิทธิดีกว่าทายาทลำดับอื่นของเจ้ามรดก ค. ทายาทโดยพินัยกรรม เนื่องจากสิทธิในการรับมรดกในฐานะทายาทโดยพินัยกรรมนั้นเป็นสิทธิเฉพาะตัวดังนั้นจึงไม่ตกทอดไปยังผู้สืบสันดานของผู้รับพินัยกรรม Faculty of Law
11
บุคคลที่จะเข้ารับมรดกแทนที่
ได้แก่ ผู้สืบสันดานของบุคคลที่จะเป็นทายาทตาม ม.1629 (1) (3) (4) และ (6) และต้องสืบสายสายโลหิตกับเจ้ามรดกด้วย ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 1643 “สิทธิที่จะรับมรดกแทนที่กันนั้นได้เฉพาะแก่ผู้สืบสันดานโดยตรง….” Faculty of Law
12
ข (บุตรชอบด้วยกฎหมาย)(ตายก่อน) ผู้สืบสันดาน
ก (เจ้ามรดก) สืบสายโลหิต ข (บุตรชอบด้วยกฎหมาย)(ตายก่อน) ผู้สืบสันดาน ค (บุตรชอบด้วยกฎหมาย) Faculty of Law
13
ข (บุตรบุญธรรม)(ตายก่อน) ผู้สืบสันดาน
ก (เจ้ามรดก) สืบสายโลหิต ข (บุตรบุญธรรม)(ตายก่อน) ผู้สืบสันดาน ค (บุตรชอบด้วยกฎหมาย) Faculty of Law
14
ข (บุตรชอบด้วยกฎหมาย)(ตายก่อน) ผู้สืบสันดาน
ก (เจ้ามรดก) × สืบสายโลหิต ข (บุตรชอบด้วยกฎหมาย)(ตายก่อน) ผู้สืบสันดาน ค (บุตรบุญธรรม) Faculty of Law
15
ข (บุตรบุญธรรม)(ตายก่อน) ผู้สืบสันดาน
ก (เจ้ามรดก) × สืบสายโลหิต ข (บุตรบุญธรรม)(ตายก่อน) ผู้สืบสันดาน ค (บุตรบุญธรรม) Faculty of Law
16
ข (บุตรชอบด้วยกฎหมาย)(ตายก่อน) ผู้สืบสันดาน
ก (เจ้ามรดก) × สืบสายโลหิต ข (บุตรชอบด้วยกฎหมาย)(ตายก่อน) ผู้สืบสันดาน ค (บุตรนอกกฎหมาย) Faculty of Law
17
ข (บุตรชอบด้วยกฎหมาย)(ตายก่อน) ผู้สืบสันดาน
ก (เจ้ามรดก) สืบสายโลหิต ข (บุตรชอบด้วยกฎหมาย)(ตายก่อน) ผู้สืบสันดาน ค (บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรอง โดยพฤตินัย) Faculty of Law
18
ข (บุตรนอกกฎหมาย)(ตายก่อน) ผู้สืบสันดาน
ก (เจ้ามรดก) × สืบสายโลหิต ข (บุตรนอกกฎหมาย)(ตายก่อน) ผู้สืบสันดาน ค (บุตรชอบด้วยกฎหมาย) Faculty of Law
19
ข (บุตรนอกกฎหมาย)(ตายก่อน) ผู้สืบสันดาน
ก (เจ้ามรดก) × สืบสายโลหิต ข (บุตรนอกกฎหมาย)(ตายก่อน) ผู้สืบสันดาน ค (บุตรนอกกฎหมาย) Faculty of Law
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.