ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPranon Ratana ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE) ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2
วัตถุประสงค์ เขียนวงจรไฟฟ้าด้วยสัญลักษณ์ไฟฟ้าได้ถูกต้อง
บอกส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าได้ เข้าใจกฎของโอห์ม คำนวณหาค่าปริมาณทางไฟฟ้าต่าง ๆ ได้ รู้วิธีการวัดค่าปริมาณไฟฟ้า และการใช้มิเตอร์
3
สัญลักษณ์และส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้าที่สมบูรณ์จะต้องประกอบด้วยส่วนประกอบ 6 ประการด้วยกัน 1. แหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้า (Energy Source) 2. ตัวนำไฟฟ้า(Conductor) 3. ฉนวนไฟฟ้า(Insulator)
4
สัญลักษณ์และส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
4. ภาระไฟฟ้า (Load) 5. อุปกรณ์ควบคุม(Control Device) 6. อุปกรณ์ป้องกัน(Protection Device)
5
สัญลักษณ์และส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
สัญลักษณ์ของความต้านทาน
6
สัญลักษณ์และส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
การเขียนวงจรไฟฟ้า (Schematic Diagram) สามารถเขียนได้สองแบบดังรูป การเขียนแบบจุดดินร่วมในวงจรไฟฟ้า
7
สัญลักษณ์และส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
8
กฎของโอห์ม กระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้านั้น จะแปรผันตรงกับแรงดันของแหล่งจ่ายไฟฟ้า แต่จะแปรผกผันกับค่าความต้านทานในวงจรไฟฟ้า
9
กำลังไฟฟ้า กำลังไฟฟ้า หมายถึง อัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อหนึ่งหน่วยเวลา
10
กำลังไฟฟ้า หรือ
11
กำลังไฟฟ้า กำลังไฟฟ้ามีค่าเป็นบวกหมายถึงองค์ประกอบได้รับกำลังไฟฟ้า โดยองค์ประกอบที่รับกำลังไฟฟ้าอย่างเดียวโดยไม่จ่ายกำลัง ไฟฟ้าออกมา เรียกว่าองค์ประกอบเฉื่อยงาน(Passive Component)
12
กำลังไฟฟ้า กำลังไฟฟ้ามีค่าเป็นลบหมายถึงองค์ประกอบจ่ายกำลังไฟฟ้าออกมา โดยองค์ประกอบที่จ่ายกำลังไฟฟ้าออกมา เรียกว่าองค์ประกอบไวงาน(Active Component)
13
การคำนวณค่าใช้พลังงานไฟฟ้า
โดยค่าใช้ไฟฟ้าสามารถคำนวณได้จากสมการ
14
การวัดปริมาณทางไฟฟ้า
- มิเตอร์แบบพาเนล
15
การวัดปริมาณทางไฟฟ้า
- มัลติมิเตอร์(VOM)
16
การวัดปริมาณทางไฟฟ้า
- มัลติมิเตอร์(VOM)
17
การใช้งานมัลติมิเตอร์
1. การวัดค่าความต้านทาน
18
การใช้งานมัลติมิเตอร์
1. การวัดค่าความต้านทาน ปลดแหล่งจ่ายไฟฟ้าออกจากวงจร เลือกย่านวัดโอห์ม ปรับค่าความต้านทานศูนย์ โดยใช้ปลายทั้งสองของสาย วัดแตะสัมผัสกัน นำสายวัดค่าความต้านทานของอุปกรณ์ที่ต้องการ
19
การใช้งานมัลติมิเตอร์
2. การวัดค่าแรงดันไฟฟ้า
20
การใช้งานมัลติมิเตอร์
2. การวัดค่าแรงดันไฟฟ้า เลือกย่านวัดแรงดันไฟฟ้า และเลือกให้ถูกต้องว่าวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงหรือกระแสสลับ ย่านวัดที่เลือกไว้ต้องสูงกว่าค่าสูงสุดของแหล่งจ่ายไฟฟ้า เสมอ นำสายวัดไปวัดโดยต่อขนานกับอุปกรณ์ที่ต้องการวัด นิยมใช้สายสีดำต่อกับจุด Com และสายสีแดงต่อกับขั้ว V เสมอ
21
การใช้งานมัลติมิเตอร์
3. การวัดค่ากระแสไฟฟ้า
22
การใช้งานมัลติมิเตอร์
3. การวัดค่ากระแสไฟฟ้า เลือกว่าวัดไฟฟ้ากระแสตรงหรือกระแสสลับ เลือกย่านวัดกระแสโดยเลือกย่านสูงที่สุด นิยมใช้สายสีดำต่อกับจุด Com และสายสีแดงต่อกับขั้ว V เสมอ ต่อสายสีแดงเข้ากับวงจรไฟฟ้า โดยต่อเข้ากับจุดที่ กระแสไหลเข้ามิเตอร์ และให้กระแสไหลออกที่สายสีดำ
23
การใช้งานมัลติมิเตอร์
3. การวัดค่ากระแสไฟฟ้า
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.