งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย นายแพทย์กิตติพงศ์ แซ่เจ็ง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย นายแพทย์กิตติพงศ์ แซ่เจ็ง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์และแนวโน้มอนามัยการเจริญพันธุ์ ในวัยรุ่นและเยาวชน และ นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
โดย นายแพทย์กิตติพงศ์ แซ่เจ็ง ผู้อำนวยการสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย

2 อนามัยการเจริญพันธุ์
สถานการณ์ อนามัยการเจริญพันธุ์ ในวัยรุ่นและเยาวชน

3 จำนวนประชากรวัยรุ่นและเยาวชน
ประชากรอายุ 10 – 24 ปี มีประมาณร้อยละ 22 (14 ล้านคน) ของประชากรทั้งหมด ที่มา: ทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง ธันวาคม 2551

4 อายุเฉลี่ยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก
ที่มา อายุเฉลี่ย (ปี) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2539 18-19 สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย พ.ศ. 2545 15-16 เอแบคโพลล์ พ.ศ. 2547 อนามัยโพลล์ พ.ศ. 2552

5 ร้อยละของสถานที่ที่นักเรียนมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก
ที่มา: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2552

6 ร้อยละของนักเรียนเคยมีเพศสัมพันธ์
กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 2548 2549 2550 2551 2552 1.นักเรียน ม.2 เพศชาย เพศหญิง 2.9 2.0 1.5 3.2 1.9 3.7 2.3 4.2 2.6 2. นักเรียน ม.5 17.7 8.7 21.0 12.2 21.2 12.9 24.1 14.7 24.7 13.9 3.นักเรียน ปวช.ชั้นปีที่ 2 37.5 29.7 36.2 28.2 40.2 34.1 43.3 36.5 44.0 37.4 ที่มา: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2552

7 ร้อยละของการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก
กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 2548 2549 2550 2551 2552 1.นักเรียน ม.2 เพศชาย เพศหญิง 55.1 46.4 45.8 33.3 50.0 51.8 48.3 50.7 41.5 2. นักเรียน ม.5 46.9 39.1 48.2 42.8 49.7 46.3 51.1 49.9 51.5 47.6 3.นักเรียน ปวช.ชั้นปีที่2 43.8 40.0 45.2 39.0 41.3 45.6 51.4 47.3 ที่มา: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2552

8 ร้อยละของการใช้ถุงยางอนามัย
เมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดกับแฟนหรือคู่รัก กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 2548 2549 2550 2551 2552 1.นักเรียน ม.2 เพศชาย เพศหญิง 50.0 29.2 55.5 41.4 67.9 33.3 53.4 40.4 57.7 33.1 2. นักเรียน ม.5 77.4 47.2 44.1 34.6 44.7 38.1 46.3 34.7 3.นักเรียน ปวช.ชั้นปีที่ 2 42.2 23.8 42.6 25.8 45.0 30.1 42.9 31.9 56.7 32.6 ที่มา: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2552

9 ร้อยละการคุมกำเนิดในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด
กับแฟนหรือคู่รักของวัยรุ่น จำแนกตามเพศและระดับการศึกษา ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2552 หมายเหตุ: วิธีคุมกำเนิดที่เชื่อถือได้ คือ ถุงยางอนามัย ยาเม็ดคุมกำเนิด ฯ

10 Adolescent pregnancy rate อัตราการตั้งครรภ์ของแม่อายุ 15-19 ปี
ต่อประชากรหญิงอายุ ปี 1,000 คน ที่มา สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (22 พ.ย. 2553) ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ อายุ ปี (การคลอดและการแท้ง) จากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข หมายเหตุ ข้อมูลการแท้งรวบรวมได้เฉพาะผู้ที่มารับบริการในโรงพยาบาลของรัฐเท่านั้น

11 Adolescent birth rate in 2006 = 57
Adolescent fertility rate (birth per 1,000 girls years) Year of  Report Data range Thailand SE Asia Global Reference 2010 46 55 47 2009 56 48 2008 n/a 94 59 Sources: World Health Statistics Report in 2010, 2009 and 2008. Adolescent birth rate in 2006 = 57 Sources: Progress for Children : A Report Card on Maternal Mortality, Number 7, September 2008, UNICEF (page 43)

12 ร้อยละ ที่มาโดยการสนับสนุนข้อมูลจากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข จัดทำข้อมูลโดย สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (การคำนวณร้อยละของแม่คลอดบุตรอายุ ปี = จำนวนแม่คลอดบุตรในช่วงอายุนั้น x 100) จำนวนแม่คลอดบุตรทั้งหมด 12

13 ร้อยละ หมายเหตุ 1. ข้อมูลเฉพาะเด็กเกิดมีชีพในโรงพยาบาลของรัฐ ที่รายงานมายังสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข 2. วิเคราะห์และรายงานโดยสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย

14 สาเหตุที่ทำให้หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีตั้งครรภ์
ไม่ได้ป้องกันขณะมีเพศสัมพันธ์ 45.5 คุมกำเนิดไม่สม่ำเสมอ ขาดความรู้ในการคุมกำเนิด 9.0 แพ้ยาคุม 7.7 ถูกกระทำชำเรา 0.6 ยาคุมกำเนิดไม่มีประสิทธิภาพ 6.4 ไม่ตอบคำถาม 2.6 ร้อยละ ที่มา: การศึกษา ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งครรภ์และมีบุตรของหญิงอายุต่ำกว่า 20 (เขตสาธารณสุข เขต 2 จังหวัดพิษณุโลก สุโขทัย เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์และจังหวัดตาก)

15 สาเหตุที่วัยรุ่นไม่คุมกำเนิด
ขาดความรู้เรื่องเพศศึกษาและชีววิทยาการเจริญพันธุ์ (ไม่รู้ว่าจะตั้งครรภ์เมื่อใด) มีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการร่วมเพศ กับการตั้งครรภ์ (ร่วมเพศครั้งเดียวไม่ท้อง) วัยรุ่นชายไม่ใช้ถุงยางอนามัย (ขัดขวางความรู้สึกทางเพศ) การบริการคุมกำเนิดยังเป็นบริการของคู่สมรส หรือผู้ที่แต่งงานแล้ว (วัยรุ่นไม่กล้าเพราะการมีเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นเป็นเรื่องที่ต้องปกปิด) ที่มา: การศึกษา ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งครรภ์และมีบุตรของหญิงอายุต่ำกว่า 20 (เขตสาธารณสุข เขต 2 จังหวัดพิษณุโลก สุโขทัย เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์และจังหวัดตาก)

16 ที่มา: สุมิตร สุตรา และ อรุณ วิรวัฒน์กูล 3 พฤศจิกายน 2551
16

17 มีสถานภาพนักเรียน/นักศึกษา
การทำแท้งในวัยรุ่น ร้อยละ 24.7 มีสถานภาพนักเรียน/นักศึกษา ร้อยละ 29.3 อายุต่ำกว่า 20 ปี ร้อยละ 61.3 อายุต่ำกว่า 25 ปี ที่มา :กองอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย 2542

18 อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ต่อประชากร 100,000
จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี พ.ศ.2548 – 2552 อายุ ปี อายุ ปี ที่มา: สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

19 อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในวัยรุ่นและเยาวชนอายุ 15-24 ปี
ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2552

20 ความชุกของการติดเชื้อเอชไอวี จากการสำรวจชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย
ในจังหวัดเฝ้าระวัง ปี 2005 – 2007 จังหวัด 2005 2007 กทม. 28.3 30.7 เชียงใหม่ 15.3 16.9 ภูเก็ต 5.5 20.0 ที่มา: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค และศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐด้านสาธารณสุข

21 ความชุกของการติดเชื้อหนอง ในของกลุ่มพนักงานบริการหญิง กลุ่มอายุ (ปี)
จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี กลุ่มอายุ (ปี) 2006 2007 15-19 19.2 21.3 20-24 13.0 16.4 > 24 7.2 7.3 รวม 10.1 11.3 ที่มา: IBBS โดย สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข และศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐ ด้านสาธารณสุข

22 สรุปปัญหาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชน
2. กลุ่มคนโสดมีเพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงานในอัตราเพิ่มมากขึ้น 1. แนวโน้มวัยรุ่นจะมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกเมื่ออายุน้อยลงเรื่อย ๆ 3. วัยรุ่นหญิงยอมรับแนวคิดการมีเพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงานมากขึ้น 4. จำนวนวัยรุ่นและเยาวชน ป่วยเป็นกามโรค 5. แม่วัยรุ่นมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี 6. วัยรุ่นและเยาวชนจำนวนมากติดเชื้อHIV กล่าวสำหรับวัยรุ่น ที่จริงเวลาเราทำโครงการเราให้ความสำคัญกับกลุ่มเป้าหมาย วัยรุ่นและเยาวชน ที่เป็น young people อายุ ปี ตามนิยามของ WHO จากผลการศึกษาวิจัยจากหลายเรื่องของหลายสำนัก รวมทั้งข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขเองเราพบปรากฎการณ์และแนวโน้ม ที่สำคัญคือ ……………………………………………. 8. เด็กและวัยรุ่นถูกล่วงละเมิดทางเพศและถูกกระทำรุนแรง 7. วัยรุ่นมีการทำแท้งกันมากขึ้น 22 22 22

23 อนามัยการเจริญพันธุ์
แนวทางการป้องกัน และแก้ไขปัญหา อนามัยการเจริญพันธุ์ ในวัยรุ่นและเยาวชน (การตั้งครรภ์)

24 การขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติ เพื่อแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ (ร่าง) พระราชบัญญัติคุ้มครองอนามัยการเจริญพันธุ์ พ.ศ. .... เสนอประเด็นการแก้ปัญหาวัยรุ่นกับการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมในที่ประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ

25 สรุปความเป็นมาและสาระสำคัญ
(ร่าง)พระราชบัญญัติคุ้มครองอนามัยการเจริญพันธุ์ พ.ศ. ....

26 สาระสำคัญของร่าง พ.ร.บ.ฯ
บุคคลย่อมมีสิทธิอนามัยการเจริญพันธุ์ สิทธิทางเพศ สิทธิเข้าถึง ได้รับข้อมูลข่าวสาร รับการปรึกษาและบริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ จากสถานบริการสาธารณสุขอย่างเหมาะสม มีคุณภาพและมาตรฐาน

27 สาระสำคัญของร่าง พ.ร.บ.ฯ (ต่อ)
ข้อพึงปฏิบัติของภาคส่วนสำคัญที่เกี่ยวข้อง ๑. สถานบริการสาธารณสุขจัดให้มีการปรึกษา หรือบริการอนามัยการเจริญพันธุ์อย่างเหมาะสม ผู้ให้การปรึกษา และบริการต้องให้ข้อมูลข่าวสารอย่างถูกต้องครบถ้วน และไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร หรือประวัติผู้รับบริการ

28 สาระสำคัญของร่าง พ.ร.บ.ฯ (ต่อ)
ข้อพึงปฏิบัติของภาคส่วนสำคัญที่เกี่ยวข้อง ๒. สถานศึกษาจัดการสอนเพศศึกษาอย่างถูกต้อง เหมาะสมกับวุฒิภาวะและ วัยของผู้เรียน ถ้ามีหญิงมีครรภ์ระหว่างศึกษาให้ศึกษาต่อ และกลับไปศึกษาต่อหลังคลอดบุตรได้ ๓. หน่วยงานรัฐและภาคเอกชน ไม่ขัดขวางการลาคลอดตามกฎหมายส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างต่อเนื่อง และป้องกันการล่วงเกิน คุกคาม หรือความเดือดร้อนทางเพศ

29 สาระสำคัญของร่าง พ.ร.บ.ฯ (ต่อ)
ข้อพึงปฏิบัติของภาคส่วนสำคัญที่เกี่ยวข้อง ๔. หน่วยงานของรัฐหรือสถานประกอบการมีหญิงมีครรภ์ที่อยู่ในภาวะไม่พร้อมจะมีบุตร ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ หรือไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรด้วยตนเอง ให้หน่วยงานของรัฐหรือสถานประกอบการดังกล่าว ให้การสงเคราะห์ช่วยเหลือ และดูแลสุขภาพของมารดาและบุตรอย่างเหมาะสม

30 ๑๔ กันยายน ๒๕๕๓

31 มีอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ดี ให้รุ่งเรืองมั่งคั่ง และมั่นคงสืบไป
นโยบายส่งเสริมคุณภาพของการเกิดทุกรายในประเทศไทยด้วยการทำให้ประชากรทุกเพศทุกวัย มีอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ดี รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนให้การเกิดทุกรายเป็นที่ปรารถนา ปลอดภัย และมีคุณภาพด้วยการส่งเสริมให้คนทุกเพศทุกวัยมีอนามัยการเจริญพันธุ์ โดยยึดหลักความสมัครใจ เสมอภาค และทั่วถึง เพื่อเป็นพลังประชากร สร้างประเทศ ให้รุ่งเรืองมั่งคั่ง และมั่นคงสืบไป

32 ๒.๑ เพื่อให้คนทุกเพศทุกวัยมีอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ดี โดยเฉพาะเรื่องสุขภาพทางเพศในกลุ่มวัยรุ่น ทั้งนี้บนหลักความสมัครใจ เสมอภาคและทั่วถึง ๒.๒ เพื่อเสริมสร้างให้ครอบครัวมีความเข้มแข็ง อบอุ่น และมีคุณภาพ โดยเฉพาะการเกิดทุกรายต้องเป็นที่ปรารถนา ปลอดภัย และมีคุณภาพ ๒. เป้าประสงค์

33 ๓. ยุทธศาสตร์การพัฒนา งานอนามัยการเจริญพันธุ์
๓.๑ การเสริมสร้างครอบครัวใหม่ และเด็กรุ่นใหม่ให้เข้มแข็ง และมีคุณภาพ ๓.๒ การส่งเสริมให้คนไทยทุกเพศ ทุกวัย มีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์และสุขภาพทางเพศที่เหมาะสม ๓.๓ การพัฒนาระบบบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ และสุขภาพทางเพศที่มีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพ

34 ๓. ยุทธศาสตร์การพัฒนา งานอนามัยการเจริญพันธุ์
๓.๔ การพัฒนาระบบบริหารจัดการงานอนามัยการเจริญพันธุ์ และสุขภาพทางเพศ แบบบูรณาการ ๓.๕ การพัฒนากฎหมาย กฎ และระเบียบ เกี่ยวกับอนามัยการเจริญพันธุ์ และสุขภาพทางเพศ ๓.๖ การพัฒนา และการจัดการองค์ความรู้ เทคโนโลยีอนามัยการเจริญพันธุ์ และสุขภาพทางเพศ

35 ประชาชน ภาคีเครือข่าย กระบวน การ พื้นฐาน
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน อายุ ปี (SRM) ภายในปี พ.ศ (4 ปี) วัยรุ่นและเยาวชนมีความสามารถในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ประชาชน (Valuation) ภาคีเครือข่าย (Stakeholder) กระบวน การ (Management) พื้นฐาน (Learning / Development) วัยรุ่นและเยาวชนมีความรู้ เข้าใจ และมีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ ที่ปลอดภัย ส่งเสริมกิจกรรมสร้างคุณค่าทางเพศ ส่งเสริมการจัดการความรู้ ส่งเสริมและพัฒนาทักษะอนามัยการเจริญพันธุ์ สร้างค่านิยมทางเพศที่ปลอดภัย และเหมาะสมกับวัย ครอบครัวมีความรู้และเข้าใจอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชน พัฒนาและเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว ส่งเสริมทักษะการสื่อสารและให้คำปรึกษาเรื่อง เพศในครอบครัว สร้างแบบอย่างในครอบครัวที่ดีเรื่องอนามัย การเจริญพันธุ์ สร้างเครือข่ายครอบครัว ชุมชนเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการพัฒนางานอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชน สร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในชุมชน กลุ่มภาคี และเครือข่าย สนับสนุนการจัดทำแผนงาน และโครงการพัฒนา อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น และเยาวชน สร้างพื้นที่เชิงบวกและส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์ ในชุมชม สร้างระบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมในวัยรุ่น และเยาวชน สถานศึกษาพัฒนาศักยภาพ ขยายสถานศึกษาต้นแบบ พัฒนากระบวนการเรียน การสอนให้มีประสิทธิภาพ สร้างภาคีและเครือข่าย ในการทำงาน ผลักดันให้ภาคีและ เครือข่ายมีส่วนร่วมในการ ติดตามการดำเนินงาน สธ. สนับสนุนวิชาการ และบริการสุขภาพ พัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน สนับสนุนการทำงานร่วมกับ ภาคีและเครือข่าย พัฒนาศักยภาพบุคลากร ภาคี และเครือข่ายให้มีทัศนคติและ ให้บริการตามมาตรฐาน ส่งเสริมให้สถานบริการดำเนิน การตามบริบท อปท/แกนนำเครือข่ายชุมชนมีส่วนร่วม และสนับสนุน สนับสนุนให้มีแผนพัฒนา วัยรุ่นและเยาวชนแบบ บูรณาการ สนับสนุนทรัพยากรอย่าง พอเพียงและต่อเนื่อง สนับสนุนให้มีและใช้ มาตรการทางสังคม พม./หน่วยงานรัฐ/เอกชน/เครือข่ายท้องถิ่น บรูณาการ ฯ เป็นศูนย์ประสานเครือข่าย สนับสนุนให้เกิดโครงการ เป็นรูปธรรม สร้างรูปแบบการติดตาม อย่างมีส่วนร่วม เครือข่ายวัยรุ่นและเยาวชน มีส่วนร่วมและเป็นผู้ขับ เคลื่อนงาน พัฒนาศักยภาพวัยรุ่นและ เยาวชน ส่งเสริมสนับสนุนวัยรุ่นและ เยาวชนดีเด่นเพื่อเป็นแบบอย่าง ในสังคม สร้างกระแสชี้นำสังคมในเรื่อง พฤติกรรมแบบอย่างที่ดี มีระบบติดตาม และประเมินผล พัฒนาระบบติดตาม และประเมินผล ผลักดันให้ข้อเสนอ เพื่อการแก้ไขไปสู่ การปฏิบัติจริง มีระบบบริหารภาคี และเครือข่าย สร้างการมีส่วนร่วม สร้างหน่วยงานเจ้าภาพ หลัก แสวงหาความต้องการ พัฒนาศักยภาพภาคี และเครือข่าย มีนวัตกรรม และองค์ความรู้ ส่งเสริมการจัดการความรู้ ส่งเสริมการสร้าง และพัฒนานวัตกรรม พัฒนางานวิจัย มีระบบการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาสื่อบุคคล เนื้อหา สื่อการเรียน การสอน พัฒนาช่องทางสื่อสาร สาธารณะ มีระบบพัฒนากฎหมาย กฎ และระเบียบ เร่งรัด ให้เกิดการเรียนรู้ และตระหนัก ถึงเรื่องสิทธิหน้าที่และกฎหมาย สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมาย สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการปรับปรุง กฎหมาย มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศครบถ้วนทันสมัย พัฒนาระบบฐานข้อมูลอนามัย การเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชนที่มี ให้ครบถ้วน พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้ทันสมัย พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้เข้าถึงได้ง่าย บุคลากรมีทักษะและสมรรถนะ ที่เหมาะสม พัฒนาหลักสูตร พัฒนาและเสริมสร้างสมรรถนะบุคลากร มีวัฒนธรรมองค์กร ส่งเสริมและพัฒนาแนวคิดและทัศนคติเชิงบวก เกี่ยวกับเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ พัฒนาการทำงานเป็นทีม สร้างแรงจูงใจ

36 ประชาชน ภาคีเครือข่าย กระบวน การ พื้นฐาน
แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน อายุ 10 – 24 ปี ภายในปี พ.ศ (2 ปี) วัยรุ่นและเยาวชนมีความสามารถในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ประชาชน (Valuation) ภาคีเครือข่าย (Stakeholder) กระบวน การ (Management) พื้นฐาน (Learning / Development) วัยรุ่นและเยาวชนมีความรู้ เข้าใจและมีพฤติกรรมอนามัย การเจริญพันธุ์ที่ปลอดภัย ส่งเสริมกิจกรรมสร้างคุณค่า ทางเพศ ชุมชนเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการพัฒนางานอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น และเยาวชน สร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในชุมชน กลุ่มภาคีและเครือข่าย ครอบครัวมีความรู้ และ เข้าใจอนามัยการ เจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชน พัฒนาและเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว สาธารณสุขสนับสนุนวิชาการและบริการสุขภาพ พัฒนาระบบบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน พม./หน่วยงานรัฐ/เอกชน/เครือข่ายท้องถิ่นบูรณาการ เป็นศูนย์ประสานเครือข่าย สถานศึกษาพัฒนาศักยภาพ ขยายสถานศึกษาต้นแบบ เครือข่ายวัยรุ่นและเยาวชนมีส่วนร่วมและเป็นผู้ขับเคลื่อนงาน พัฒนาศักยภาพวัยรุ่นและเยาวชน อปท./แกนนำเครือข่ายชุมชนมีส่วนร่วมและสนับสนุน สนับสนุนให้มีแผนพัฒนาวัยรุ่นและเยาวชนแบบบูรณาการ มีระบบพัฒนากฎหมาย กฎ และระเบียบ เร่งรัดให้เกิดการเรียนรู้และตระหนักถึง เรื่องสิทธิ และกฎหมาย มีระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาสื่อบุคคล /เนื้อหา /สื่อการเรียน การสอน มีระบบบริหารภาคีและเครือข่าย สร้างการมีส่วนร่วม มีระบบติดตามและประเมินผล พัฒนาระบบติดตามและประเมินผล มีนวัตกรรมและองค์ความรู้ ส่งเสริมการจัดการความรู้ มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศครบถ้วนทันสมัย พัฒนาระบบฐานข้อมูลอนามัย การเจริญพันธุ์ วัยรุ่นและเยาวชนที่มี ให้ครบถ้วน พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้ทันสมัย พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้เข้าถึงง่าย มีวัฒนธรรมองค์กร ส่งเสริมและพัฒนาแนวคิดและทัศนคติเชิงบวก เกี่ยวกับเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ บุคลากรมีทักษะและสมรรถนะที่เหมาะสม พัฒนาหลักสูตร พัฒนาและเสริมสร้างสมรรถนะบุคลากร 36

37 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ร่วมระหว่างกรม ฯ
แสดง Road Map (เส้นสีแดง) ประชาชน (Valuation) ภาคีเครือข่าย (Stakeholder) กระบวน การ (Management) พื้นฐาน (Learning / Development) อปท. มอบอำนาจให้ท้องที่ดำเนินการ ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ชุมชนมีมาตรการ ทางสังคม ชุมชนมีโครงการของ ชุมชนโดยชุมชน ชุมชนมีระบบเฝ้าระวัง ที่มีประสิทธิภาพ อปท. มอบอำนาจให้คณะอสม. ดำเนินการ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อน และสนับสนุนทรัพยากรอย่าง เพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่มองค์กรในและนอก พื้นที่มีบทบาท หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ตกลง ความร่วมมือ ระบบสื่อสาร สารสนเทศ มีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี ใช้แผนปฏิบัติการ ปรับปรุงแผนตำบล ระบบบริหารจัดการองค์กรและ ภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ อบรมแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ ระบบข้อมูลมีคุณภาพ องค์กรมีบรรยากาศ เอื้ออำนวยต่อการทำงาน บุคลากรแกนนำมีสมรรถนะ ที่เหมาะสม

38 ที่มา : คณะกรรมาธิการสาธารณสุข, วุฒิสภา
รัฐบาล วาระแห่งชาติ พัฒนาเด็กและเยาวชน งปม. พัฒนาครู นโยบาย แผนประชากร วัฒนธรรม / ICT กลั่นกรองสื่อ จัดการสื่อไม่สร้างสรรค์ สื่อสร้างสรรค์ สร้างภูมิคุ้มกัน อส.วัฒนธรรม กลั่นกรอง องค์กรเอกชน เพศศึกษารอบด้าน เพศวิถี / ผู้เรียนศูนย์กลาง พัฒนาด้านบวก ทักษะ สื่อสาร ต่อรอง ฯลฯ มหาดไทย / ตำรวจ บังคับใช้กฎหมาย สื่อ แหล่งบันเทิง หอเถื่อน โซนนิ่งแหล่งบันเทิง ท้องถิ่นสร้างทักษะชีวิต ศึกษาธิการ การเรียนรู้เพศศึกษา พัฒนาครูสอน / ครูแนะแนว ทักษะชีวิตนักเรียน/คัดกรอง ตั้งครรภ์ให้เรียนต่อ ลดการ ตั้งครรภ์ วัยรุ่น พม. ยุทธศาสตร์ป้องกัน และแก้ไข ป้องกัน ช่วยเหลือ ฟื้นฟู ผู้นำทางความคิด / รณรงค์ ผลักดันนโยบาย ข้อมูล ติดตาม ประเมิน สาธารณสุข ยุทธศาสตร์ อพ. ถุงยาง 100 % บริการเป็นมิตรวัยรุ่น บริการคุมกำเนิด สร้างกระแสสังคม ดูแลวัยรุ่นตั้งครรภ์ ที่มา : คณะกรรมาธิการสาธารณสุข, วุฒิสภา

39 การพัฒนางานอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2553 - 2557
นโยบายและยุทธศาสตร์ การพัฒนางานอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ โครงการป้องกัน การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น กรมฯ (ศธ พม สธ มท/อปท) กรมอนามัย จังหวัดมีการจัดตั้ง คณะกรรมการ พัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ จังหวัดมีแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาARHแบบบูรณาการ (ศธ พม สธ อบจ อบต NGO ปชช ฯ) องค์กรในพื้นที่(ศธ พมจ อปท/อบต NGO ปชช) ดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม ตามแผน ฯ บูรณาการ การพัฒนาศักยภาพรพ.ทุกแห่ง มีการจัดYFHS 39

40 1) โครงการวัยรุ่นสดใส ไม่ท้องก่อนวัยทักษะชีวิตดี มีอนาคต
1) โครงการวัยรุ่นสดใส ไม่ท้องก่อนวัยทักษะชีวิตดี มีอนาคต ผลผลิต แผนยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ระดับจังหวัดแบบบูรณาการ คณะกรรมการอนามัยการเจริญพันธุ์จังหวัด แผนงานอนามัยการเจริญพันธุ์ในองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น โรงเรียนที่มีกิจกรรมป้องกันอนามัยการเจริญพันธุ์/การตั้งครรภ์ ครอบครัวอนามัยการเจริญพันธุ์ 2) โครงการส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับวัยรุ่นและเยาวชน จังหวัดที่เข้าร่วมโครงการ โรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการ ผู้ผ่านการอบรม YFHS โรงพยาบาลที่ผ่านการประเมินมาตรฐาน YFHS

41 วัตถุประสงค์ 05/04/60

42 เป้าหมายเชิงปริมาณ เป้าหมายเชิงคุณภาพ
 เป้าหมายเชิงปริมาณ 2552 2553 2554 2555 รวม (เป้าหมาย) จำนวนจังหวัด 3 10 36 27 76 (ผลงาน) จำนวนจังหวัด 18 (ผลงาน) จำนวนรพ.ทีมี YFHS 30 181 821 (ผลงาน) % รพ.ที่มี YFHS 3.7 22.0 100.00 (ผลงานสะสม) % สะสม รพ. ที่มี YFHS 25.7  เป้าหมายเชิงคุณภาพ 2556 2557 2558 (เป้าหมาย) % รพ.ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 50 80 100 รางวัลผลงานเด่นระดับประเทศ Youth Friendly Health Services Clinic Award ต่อจังหวัด 05/04/60

43


ดาวน์โหลด ppt โดย นายแพทย์กิตติพงศ์ แซ่เจ็ง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google