งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
ฟิสิกส์ บทนำ โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์

2 สเกลารและเวกเตอร

3 วิชาฟิสิกส์ ฟิสิกส์ หมายถึง วิทยาศาสตร์ที่ศึกษาองค์ประกอบและปฏิสัมพันธ์ของสสารกับพลังงาน ตลอดจนความสัมพันธ์ของปริมาณต่างๆ ในธรรมชาติ เพื่อทำความเข้าใจ อธิบายและคาดการณ์ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ รวมทั้งสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาค้นคว้าความรู้ในวิทยาศาสตร์สาขาอื่นๆ ต่อไปได้ 1. ฟิสิกส์ คือ การศึกษากฎธรรมชาติ   2. ฟิสิกส์ คือ วิทยาศาสตร์ที่อธิบายวัตถุและพลังงาน   3. ฟิสิกส์ คือ พื้นฐานของวิทยาศาสตร์ทั้งมวล   4. ฟิสิกส์ คือ ความรู้ที่ได้จากการศึกษาและรวบรวม จากปรากฎการณ์ธรรมชาติ

4 กลไกของฟิสิกส์ คือ การใช้คณิตศาสตร์ในการอธิบายความสัมพันธ์ของปัจจัยหรือตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ต่างๆ ความรู้ที่ได้ส่วนหนึ่งมาจากการสังเกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ และจากการทดลองในห้องปฏิบัติการ แล้วรวบรวมข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ แปลความหมาย และสรุปผล ข้อสรุปที่ได้นี้อาจนำไปสู่ทฤษฎี ถ้าทฤษฎีนี้สามารถอธิบายปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องได้ทุกครั้ง ทฤษฎีดังกล่าวก็จะพัฒนาไปเป็นกฎ

5 ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาฟิสิกส์
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ เชิงคุณภาพ และข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ (qualitative data) เป็นข้อมูลที่ได้จากการบรรยายสภาพของสิ่งที่สังเกตได้ตามขอบเขตของการรับรู้ เช่น การระบุลักษณะของรูปทรง ลักษณะพื้นผิว สี กลิ่น รส ซึ่งเป็นข้อมูลที่ยังไม่ได้วัดหรือวัดไม่ได้ ข้อมูลเชิงปริมาณ (quantitative data) เป็นข้อมูลที่ได้จากการวัดปริมาณต่างๆ ของระบบที่ศึกษาโดยใช้เครื่องมือวัดและวิธีการวัดที่ถูกต้อง ทำให้ได้ข้อมูลเชิงตัวเลข เช่น ข้อมูลระยะทาง มวล เวลา และอุณหภูมิ เป็นต้น

6 ความรูพื้นฐานทางฟสิกส ไดแก กลศาสตร ความรอน แสง เสียง ไฟฟา แมเหล็ก ฟสิกสอะตอม ฟสิกสนิวเคลียร ซึ่งความรูทางฟสิกส์ มีความเกี่ยวของกับการเรียนวิทยาศาสตรเกือบทุกสาขาและยัง เกี่ยวของกับศาสตรเชิงประยุกต ได้แก่ ฟสิกสเกี่ยวของกับวิชาเคมี ฟสิกสเกี่ยวของกับวิชาชีววิทยา ฟสิกสกับการพัฒนาดานคอมพิวเตอร ฟสิกสเกี่ยวของกับแพทยศาสตร ฟสิกสเกี่ยวของกับวิศวกรรมศาสตร

7 ปริมาณทางฟิสิกส์ การวัด หน่วย

8 ระบบหนวยระหวางชาติ (International System of Units)
หรือเรียกยอวาหนวย SI ประกอบดวย 1. หนวยฐาน ซึ่งใชเปนหนวยหลักในระบบ SI มี 7 หนวย คือ

9

10 2. หนวยเสริม มี 2 หนวย คือ
2. หนวยเสริม มี 2 หนวย คือ 2.1 เรเดียน (Radian) ใชสัญลักษณ rad เปนหนวยในการวัดมุม โดยมุม 1 เรเดียน คือ มุมที่จุดศูนยกลางรองรับสวนโคง เทากับรัศมี 2.2 สเตอเรเดียน (Steradian) ใชสัญลักษณ์ Sr เปนหนวยในการวัด มุมตัน โดยมุมตัน 1 สเตอเรเดียนคือ มุมที่จุดศูนยกลางรองรับ พื้นผิวโคงที่มีพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัสเทากับรัศมีกําลังสอง

11 3. หนวยอนุพันธ์ เปนหนวยที่เกิดจากนําหนวยฐานมาหาความสัมพันธกัน
ดวยกฎเกณฑทางวิทยาศาสตร

12 4. คําอุปสรรคที่ใชแทนตัวพหุคูณ
เมื่อปริมาณในหนวยฐาน หรือหนวยอนุพันธมีคามากหรือนอยเกินไป สามารถแทนดวย คําอุปสรรค เวลาเขียนใหวางคําอุปสรรคไวขางหนา หนวยฐาน เชน 6 × 106 V = 6 MV 3 × 10-3 A = 3 mA 5 × 103 W = 5 kW

13 ความยาว 1 ปีแสง = x m

14 มวล แรง 1 slug = kg , 1 kg = lbm 1 lbf = N พื้นที่ กำลัง 1 เอเคอร์ = m2 1 แรงม้า = W พลังงาน ความดัน 1 Btu = J 1 N/m2 = x105 Pa 1 แคลอรี่ (cal) = J 1 บรรยากาศ = 1 Pa 1 bar = Pa ปริมาตร 1 แกลลอน (gal) = x10-3 m3


ดาวน์โหลด ppt โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google