งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
หน่วยที่ 3 การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ

2 การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ

3 โครงสร้างของคลื่นวิทยุ

4 คุณสมบัติของคลื่น คุณสมบัติพื้นฐานของคลื่น 4 ประการ คือ 1. การสะท้อนกลับ (Reflection) การหักเห (Refraction) 3. การแพร่กระจายคลื่น (Diffraction) 4. การแทรกสอดของคลื่น (Interference)

5 1. การสะท้อนกลับ (Reflection)

6 มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน

7 2. การหักเห (Refraction)

8 การหักเห : คลื่นวิทยุเดินทางจากตัวกลางหนึ่ง ไปยังอีกตัวกลางหนึ่งที่มีคุณสมบัติทางไฟฟ้าไม่เหมือนกัน โดยที่มุมตกกระทบ ณ ตัวกลางที่สองไม่เป็นมุมฉาก พลังงานคลื่นส่วนหนึ่งจะสะท้อนกลับเข้าไปยังตัวกลางที่หนึ่ง โดยมี มุมตกเท่ากับมุมสะท้อน

9 การหักเหของคลื่น

10 3. การแพร่กระจายคลื่น (Diffraction)

11 การแพร่กระจายหรือการเบี่ยงเบน

12 4. การแทรกสอดของคลื่น (Interference)

13 เกิดจากแหล่งกำเนิดแหล่งเดียว แต่เดินทางต่างกัน เนื่องจาก การสะท้อนที่พื้นผิว

14 หัวข้อ 3.1 ชั้นบรรยากาศ 3.2 การแพร่กระจายคลื่นแบบต่าง ๆ Free space Propagation 3.2.2 Reflection Propagation 3.2.3 Diffraction Propagation 3.2.4 Ionosphere Reflection Propagation 3.2.5 Tropospheric Propagation

15 ชั้นบรรยากาศ แบ่งตามความหนาแน่นของก๊าซ 1.โทรโปสสเฟียร์ 0-10 กม.
2.ไอโซโนสเฟียร์ กม. 3.ไอโอโนสเฟียร์ กม. 4. เอกโซเฟียร์ สูงเกิน 600 กม.

16

17 การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ

18 ประเภทของคลื่นวิทยุ แบ่งตามลักษณะการเดินทาง 1. คลื่นดิน 2. คลื่นอวกาศ
3. คลื่นฟ้า

19 สิ่งที่ต้องคำนึงถึง การลดทอนสัญญาณ จะต้องน้อยที่สุด

20 ประเภทของคลื่นวิทยุ

21 องค์ประกอบของคลื่นวิทยุ

22 DIRECT WAVE GROUND REFLECTED WAVE SURFACE    WAVE

23 1. คลื่นดิน (Ground wave) หรือ คลื่นผิวดิน (Surface wave)

24 คลื่นผิวดิน คลื่นวิทยุค่อย ๆ จางหาย สายอากาศส่ง สายอากาศรับ

25 ความถี่ที่เหมาะสมสำหรับคลื่นดิน
ย่านความถี่ LF : Low Frequency MF : Medium Frequency

26 ระบบสื่อสารโดยใช้คลื่นดิน
-วิทยุกระจายเสียงระบบ AM -ระบบนำร่องเรือมหาสมุทร

27 2. คลื่นอวกาศ (Space wave) หรือคลื่นตรง (Direct wave)

28 คลื่นอวกาศหรือคลื่นตรง

29 ระบบสื่อสารโดยใช้คลื่นอวกาศ
-วิทยุโทรทัศน์ระบบ VHF - วิทยุโทรทัศน์ระบบ UHF

30 การแพร่กระจาย คลื่นความถี่ VHF และ UHF

31 อุปสรรค VHF, UHF 1. ภูมิประเทศ 2. ความโค้งของ ผิวโลก

32 คลื่นฟ้า (Sky wave)

33 การแพร่กระจายคลื่นแบบ Refraction Wave

34 คลื่นฟ้า (Sky wave) IONOSPHERE SKY WAVES GROUND WAVES

35 ชั้นบรรยากาศ

36 ชั้นไอโอโนสเฟียร์ ความสูง เหนือผิวโลก
ความสูง เหนือผิวโลก กิโลเมตร

37 ชั้นบรรยากาศในการสื่อสาร
โดยใช้คลื่นฟ้า ชั้นไอโอโนสเฟียร์ (Ionosphere) ความสูง ชั้น D กม. ชั้น E กม.

38 ความสูง ชั้น F1 สูง กม. ชั้น F2 สูง กม. โดยระดับการแตกตัวของอิออนในแต่ละชั้นจะแตกต่างกัน

39 ขีดจำกัดการสื่อสาร โดยใช้คลื่นฟ้า -ได้ผลดีเฉพาะย่านความถี่ HF
เท่านั้น คือความถี่ไม่เกิน 30 MHz

40 ระบบสื่อสารโดยใช้คลื่นฟ้า
ย่านความถี่ HF ย่านความถี่ MF ในเวลากลางคืน

41 ความสูงจริงและความสูงเสมือน

42 ระยะสกิป (Skip Distance)

43 การสื่อสารแบบหลายฮอป
(Multiple-Hobp)

44 การส่งคลื่นวิทยุแบบโทรโปสแกตเตอร์ (Troposcatter หรือ Tropospheric scatter )

45 การสื่อสารดาวเทียม

46 ระยะสายตา (Line of Sight : LOS)

47 การสื่อสารในระยะสายตา (Line of Sight)
เครื่องส่ง เครื่องรับ โลก

48 สูตร d=4.12(HT+HR)-----(!)
คำนวณ Line of Sight : LOS สูตร d=4.12(HT+HR)-----(!) d= 4.12 (ความสูงเสาส่ง + ความสูงเสารับ) ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google