ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การตรวจราชการ กับการบริหารความเสี่ยง
นางพรทิพย์ อุ้ยตา ผู้ตรวจราชการกรม 21 ตุลาคม 2552 1
2
เพื่อสดับตรับฟังทุกข์สุข ความคิดเห็น และความต้องการ ของเจ้าหน้าที่
เพื่อชี้แจง แนะนำ หรือทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับแนวทางและการปฏิบัติงานตามนโยบายของหน่วยงาน เพื่อตรวจติดตามการปฏิบัติงานเป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เพื่อติดตามความก้าวหน้า ปัญหา และอุปสรรค รวมทั้งประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่าในการปฏิบัติงาน เพื่อสดับตรับฟังทุกข์สุข ความคิดเห็น และความต้องการ ของเจ้าหน้าที่ เพื่อแสวงหาข้อเท็จจริง และสืบสวนสอบสวนเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือสถานการณ์ในพื้นที่ การตรวจราชการ 2 วัตถุประสงค์
3
บทบาทของผู้ตรวจราชการกรม
รับผิดชอบและมีอำนาจหน้าที่ ในการตรวจราชการเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการของหน่วยงานของรัฐ เฉพาะในขอบเขตอำนาจและหน้าที่ของกรม ในฐานะผู้สอดส่องดูแลแทนอธิบดี ประสานงานและร่วมกันดำเนินการในการตรวจโครงการในเรื่องเดียวกันกับผู้ตรวจราชการที่เกี่ยวข้องทุกระดับ บทบาทของผู้ตรวจราชการกรม 3 การตรวจราชการ
4
อำนาจและหน้าที่ของผู้ตรวจราชการ
สั่งเป็นลายลักษณ์อักษรให้ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ สั่งเป็นลายลักษณ์อักษร ให้ปฏิบัติหรืองดเว้นไว้ก่อนกรณีจะเกิดความเสียหาย สั่งให้ชี้แจง ให้ถ้อยคำ หรือส่งหลักฐาน เพื่อประกอบการพิจารณา สอบข้อเท็จจริง สืบสวนสอบสวน สดับตรับฟังเหตุการณ์ เมื่อได้รับการร้องเรียน หรือมีเหตุอันสมควร เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้รับการตรวจ และรายงานผู้บังคับบัญชา เพื่อทราบ เรียกประชุมเจ้าหน้าที่ของรัฐเพื่อชี้แจง แนะนำ หรือปรึกษาหารือร่วมกัน อำนาจและหน้าที่ของผู้ตรวจราชการ 4 การตรวจราชการ
5
หน้าที่ของผู้รับการตรวจ
อำนวยความสะดวกและให้ความร่วมมือแก่ผู้ตรวจราชการในการเข้าไปในสถานที่ปฏิบัติงาน จัดเตรียมบุคคล เอกสาร หรือหลักฐานในการปฏิบัติงานให้ครบถ้วน ชี้แจงและตอบข้อซักถามต่างๆ พร้อมทั้งหาข้อมูลเพิ่มเติม ปฏิบัติหรืองดเว้นการปฏิบัติงานใดๆ ตามที่ผู้ตรวจราชการสั่งการ ดำเนินการอื่นที่เป็นประโยชน์ในการตรวจราชการ เตรียมสมุดตรวจราชการ หน้าที่ของผู้รับการตรวจ 5 การตรวจราชการ
6
ปัจจัยหลักของความสำเร็จขององค์กร ภายใต้การดำเนินงานที่สมบูรณ์
การบริหารความเสี่ยง ปัจจัยหลักของความสำเร็จขององค์กร การบริหารทรัพยากร ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) ความประหยัด (Economy) ความมีประสิทธิผล (Effectiveness) เกิดประโยชน์สูงสุด ภายใต้การดำเนินงานที่สมบูรณ์ 6 คน เงิน ทรัพย์สิน
7
ความเสี่ยงขององค์กร การบริหารทรัพยากร
การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยงขององค์กร องค์กรที่หากำไร องค์กรที่ไม่หากำไร ขาดทุน ดำเนินการไม่ได้ ตามแผนงานหรือเป้าหมายที่ตั้งไว้ ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น ความเสี่ยงที่มีความแน่นอน ความเสี่ยงที่ไม่มีความแน่นอน 7 การบริหารทรัพยากร ความเสี่ยง
8
ความเสี่ยงที่มีความแน่นอน
การบริหารความเสี่ยง ความผิดพลาดบกพร่องอันเกิดจากการปฏิบัติงานของมนุษย์ ความผิดพลาดบกพร่องอันเกิดจากการทำงานของเครื่องจักร ขีดจำกัดความสามารถของมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมการดำเนินงาน ความเสี่ยงที่มีความแน่นอน 8
9
ความเสี่ยงที่ไม่มีความแน่นอน
การบริหารความเสี่ยง ภัยธรรมชาติที่รุนแรง ภัยจากการกระทำของมนุษย์ ความเสี่ยงที่ไม่มีความแน่นอน 9
10
การบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยง (Risk) โอกาสที่องค์กรจะเกิดการดำเนินงานที่ขาดทุน หรือไม่สามารถดำเนินการให้ประสบความสำเร็จตามแผนงานหรือเป้าหมายที่ตั้งไว้ 10
11
ต้นแบบวงจรความเสี่ยง (Risk Cycle Model)
การบริหารความเสี่ยง ต้นแบบวงจรความเสี่ยง (Risk Cycle Model) Understanding Key Business Objectives Risk Survey Risk Assessing and Ranking Risk Management Risk Audit Risk Identification Risk Analysis 1 2 3 4 5 6 7 11
12
ต้นแบบวงจรความเสี่ยง (Risk Cycle Model)
การบริหารความเสี่ยง ต้นแบบวงจรความเสี่ยง (Risk Cycle Model) 1. การทำความเข้าใจวัตถุประสงค์หลักของธุรกิจ (Understanding Key Business Objectives) 2. การสำรวจความเสี่ยง (Risk Survey) 3. การค้นหาและดัชนีความเสี่ยง (Risk Identification) 4. การวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis) 5. การประเมินและจัดลำดับความเสี่ยง (Risk Assessing and Ranking) 6. การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) 7. การตรวจสอบความเสี่ยง (Risk Audit) 12
13
การบริหารความเสี่ยง จบการนำเสนอ 13
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.