งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การเขียน Flowchart ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา อุบลรัตน์ นฤพนธ์จิรกุล นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการพิเศษ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จ.สระบุรี

2 Flowchart เป็นเครื่องมือ ที่ง่ายและมีประสิทธิภาพ
ทำให้เราสามารถเข้าใจกระบวนการทำงานที่เป็นอยู่ในปัจจุบันดีขึ้น Version 2.1

3 จุดประสงค์ของ Flowchart
ช่วยให้ทีมงานมีความเข้าใจตรงกันถึงลำดับขั้นตอนของกระบวนการทำงานที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ระบุจุดที่จะต้องพัฒนาหรือจุดที่มีปัญหา ระบุจุดที่ต้องเก็บข้อมูลในกระบวนการ กำหนดแนวทางในการพัฒนากระบวนการ Version 2.1

4 สัญญลักษณ์ที่ใช้ใน Flowchart
จุดเริ่มต้น/สิ้นสุด แสดงถึงกิจกรรมเริ่มต้นและกิจกรรมสุดท้ายของกระบวนการ กระบวนการ แสดงถึงขั้นตอนหรือกิจกรรมหนึ่งในกระบวนการ การตัดสินใจ แสดงถึงจุดตัดสินใจในการเลือกทางใดทางหนึ่ง ตัว เชื่อม คือ ตัวเชื่อม ซึ่งจะใช้ในกรณีที่ Flowchart ยาวมากกว่า 1 หน้า

5 วิธีการสร้าง Flowchart
1.ใช้กระบวนการทำงานที่เลือกมาแล้ว 2. กำหนดขอบเขตของกระบวนการ จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด 3. เขียนขั้นตอนแรกในสัญลักษณ์วงรี 4. แล้วถามตัวเองว่าจากจุดนี้มีกิจกรรมอะไรเกิดขึ้น ให้ใส่กิจกรรมนั้นในสี่เหลี่ยมผืนผ้าเป็นขั้นตอนต่อไป 5. ทำอย่างนี้ต่อไปเรื่อยๆ โดยเชื่อมโยงระหว่างสัญลักษณ์ และลูกศรต้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน Decide on process to flowchart. Define beginning and end – boundaries - Need to think about what starts the process, the beginning, for example, someone comes into the store or the police station. write beginning steps of process in an oval Ask yourself what happens next? - John likes to walk his way through the process – I know all of you will do this differently. Don’t get too detailed. You’ll know when you’re doing it if you’re getting into minutia. Don’t start with putting keys in pocket, walking down the driveway, opening the door to the car, etc . continue mapping steps with one-way arrows – don’t use 2-way unless is feedback - - as you go, must keep thinking, is there a key decision here? – can’t have anything dangling, can’t end without clarifying what happens after a decision concluded both ways repeat steps until come to end Remember variation? If we don’t know how long a process takes, how are we going to schedule? It’s been shown through psychological testing that the brain can process about 5 activities at one time. When you’re reading a flow chart, I would rather use nice big clear color boxes and a connector at end of page so people can understand more easily. 80% or 90% of the time will be a yes/no question. Need to be practical and succinct. In a flowchart want information that will best enable people to communicate Version 2.1

6 วิธีการสร้าง Flowchart (ต่อ)
6. เมื่อถึงจุดต้องตัดสินใจให้ใช้สัญลักษณ์สี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ลูกศรแต่ละอันที่ออกจากจุดตัดสินใจนี้จะต้องกลับเข้าหากระบวนการหรือออกจากกระบวนการที่ใดที่หนึ่ง 7. ทำขั้นตอนที่ 4- 6 ซ้ำจนกว่าจะถึงขั้นสุดท้ายของกระบวนการ 8. ใส่ขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการในวงรี

7 ตัวอย่าง Flowchart ในการให้ ART
CASE EXAMPLE Flowchart Version 2.1

8 Version 2.1

9 Version 2.1

10 Version 2.1

11 กระบวนการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (Surveillance process)
การรวบรวมข้อมูล ผู้ป่วยมารับบริการที่สถานบริการสาธารณสุข การวิเคราะห์ข้อมูล ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคในข่ายเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา การแปลผลและสร้างข้อเสนอ จัดทำ รง.506 และส่งรายงานคามระบบ การกระจายผลการเฝ้าระวัง

12 กระบวนการรายงาน 506 ป 1 ผู้มารับบริการที่ OPD ศบส.
ซักประวัติ เพื่อทำบัตร ซักประวัติการเจ็บป่วย วัด T,P,R,BP ตรวจคัดกรองเบื้องต้น ส่งพบแพทย์ ตรวจ วินิจฉัย เป็นโรคที่ต้องรายงาน 506 ใช่ หรือ ไม่ ไม่ใช่ ใช่ สั่งการ รักษา ส่งให้พยาบาลห้องปฎิบัติการ ซักประวัติเพิ่มเติมตามแบบ รง 506 ผู้มารับบริการที่ OPD ศบส. 1

13 ส่งบัตร รง.506 ให้ฝ่ายธุรการ ธุรการส่ง รง.506 ทางไปรษณีย์
1 ประวัติเข้าข่ายโรคที่ต้องเฝ้าระวัง ใช่ หรือ ไม่ ไม่ใช่ ใช่ เขียน รง. 506 ต้องส่งตรวจ Lab หรือ ไม่ เก็บ specimen ส่งตรวจ ลงทะเบียน Lab ลงทะเบียน E1, E0 ส่งบัตร รง.506 ให้ฝ่ายธุรการ รับยา ธุรการส่ง รง.506 ทางไปรษณีย์

14 กระบวนการรายงาน 506 ปรับใหม่
ซักประวัติ เพื่อทำบัตร ซักประวัติการเจ็บป่วย ชั่ง นน. วัด T,P,R,BP ตรวจคัดกรองเบื้องต้น เป็นผู้ป่วยที่ต้องเฝ้าระวัง ใช่ หรือ ไม่ ไม่ใช่ ใช่ เพิ่ม แบบ รง 506 ไปกับประวัติ พบแพทย์ เพื่อวินิจฉัย รักษา ผู้มารับบริการที่ OPD ศบส. 1

15 1 เป็นผู้ป่วยด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวัง ใช่ หรือ ไม่ ไม่ใช่ รับยา ใช่
เขียน รง. 506 ที่ห้องปฎิบัติการ ซักประวัติเพิ่มเติม ตามแบบ รง. 506 ,ส่งตรวจทาง ห้องปฎิบัติการ (ในบางกรณี ลงทะเบียน E1, E0 ส่ง รง.506 ที่เจ้าหน้าที่ควบคุมโรค ตรวจสอบความครบถ้วนของรายงาน ส่งบัตร รง.506 ทางไปรษณีย์ รับยา สรุปรายงาน บันทึกประวัติการเจ็บป่วย ลง รพ14

16 Flow chart การวินิจฉัยและการรายงานโรคไข้เลือดออก รพ.ช. แห่งหนึ่ง
OPD, ER คัดกรองผู้ป่วยตาม WI-NUR-02.31/01 ทำ Tourniquet Test TT. Pos. ใช่ หรือ ไม่ ชันสูตร -CBC , Plt ,Test Kit ใช่ ไม่ใช่ แพทย์วินิจฉัยโรคตาม CPG-MED-02-07/01 เป็นไข้เลือดออก หรือไม่ ต้อง Admit ส่งเข้า ward รับยา ผู้มารับบริการ กลับบ้าน ให้การรักษา กลับบ้าน นัดวันตรวจ ให้การรักษาตาม CPG-MED-02-07/01 1

17 1 พยาบาล แจ้ง จนท. ฝ่ายสุขาภิบาล ฯ ใช่ ไม่ใช่ เสร็จสิ้น
DHF-OPD DHF-IPD IPD ในเวลาราชการ ใช่ หรือ ไม่ จนท.ฝ่ายสุขาฯ ราย งาน ผอ.รพ. สสจ สอ. สสอ. ภายใน 24 ชม. พยาบาล แจ้ง จนท. ฝ่ายสุขาภิบาล ฯ จนท.ฝ่ายสุขาฯ ซักรายละเอียดเพิ่มเติม & บันทึกลงในแบบสอบสวนโรคฯ พยาบาล ER บันทึก ในทะเบียนรายงานโรคไข้เลือดออก พยาบาล ER แจ้ง สอ.,สสอ.,สสจ.ภายใน 24 ชม. จนท.ฝ่ายสุขาฯ เก็บรายงานจากทะเบียนที่ ER และ รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม จาก OPD card จนท.ฝ่ายสุขาฯ ลงรายงาน 506 ส่งตามระบบ ใช่ ไม่ใช่ จนท.ฝ่ายสุขาฯ รายงาน สอ. ,สสอ. , สสจ. ,ผอ. ภายใน 24 ชม. พยาบาล OPD,ER ประสานหอผู้ป่วย จนท.ฝ่ายสุขาฯ ซักรายละเอียดเพิ่มเติม & บันทึกตามแบบสอบสวนโรคฯ พยาบาลหอผู้ป่วย แจ้งฝ่ายสุขาฯ จนท.ฝ่ายสุขาฯติดตามผู้ป่วยจากทะบียน Admit & Chart ผู้ป่วย จนท.ฝ่ายสุขาฯ ลงรายงาน 506 เปลี่ยนแปลงการวินิจฉัยเป็นไข้เลือดออก ใช่ หรือไม่ เสร็จสิ้น

18 แบบฝึกหัด แบ่งกลุ่มตามความสมัครใจ 4-5 คน
สร้าง flowchart กระบวนการทำงานเฝ้าระวัง ตามระดับที่ปฏิบัติงานจริง เช่น จังหวัด อำเภอ รพ. นำเสนอรายกลุ่ม


ดาวน์โหลด ppt ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google