งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารงบบริการ P&P ปีงบประมาณ 2553

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารงบบริการ P&P ปีงบประมาณ 2553"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารงบบริการ P&P ปีงบประมาณ 2553

2 ผลลัพธ์ที่ผ่านมาของ บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

3 EPI vaccine coverage rates and disease incidences, Thailand 1977-2008
Pertussis Diphtheria Measles Neonatal Tetanus ปี 2550 คอตีบ 4 ราย ตาย 1 ราย ไอกรน 23 ราย ไม่มีตาย บาดทะยักในทารกแรกเกิด 4 ราย ไม่มีตาย หัด 3893 ราย ตาย 1 ราย Case rate/100,000 (case / 100,000 live births in NNT) Vaccine coverage แหล่งข้อมูล : สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค

4 อัตราส่วนการตายของมารดา จากการตั้งครรภ์และการคลอด
อัตราส่วนการตายของมารดา จากการตั้งครรภ์และการคลอด 18 ต่อ 100,000 หมายถึง จำนวนการตายของหญิงเนื่องจากสาเหตุที่เกี่ยวข้องหรือการดูแลรักษาขณะตั้งครรภ์และการคลอด ต่อเด็กเกิดมีชีพ จากมารดาที่คลอดบุตรในโรงพยาบาลที่เป็นสิทธิ UC จำนวน คน อัตราส่วนการตายของมารดา จากการตั้งครรภ์และการคลอด ที่รับไว้เป็นผู้ป่วยใน มีค่าเปลี่ยนแปลงขึ้นลง และมีค่าสูงกว่าเป้าหมาย หมายเหตุ ค่าที่ได้เฉพาะหญิงตั้งครรภ์และมารดาที่ตายในโรงพยาบาล และรับบริการโดยการใช้สิทธิUC เท่านั้น การคลอดโดยใช้สิทธิUC ประมาณสี่แสนคนต่อปี จากการคลอดทั้งหมด ประมาณแปดแสนคนต่อปี

5 Source: Department of Health, Ministry of Public Health
Percentage of Low-Birth-Weight Newborns (under 2,500 grams), NHSS Percentage Year Source: Department of Health, Ministry of Public Health

6 Mortality Rate (per 100,000 pop.) from Preterm Infants
NHSS From: National Health Statistic, Bureau of Policy and Strategy, Ministry of Public Health, Thailand

7 1) แหล่งข้อมูล:กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
2) แหล่งข้อมูล จากรายงาน 0110 รง.5 ปี 1) แหล่งข้อมูล:กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

8 จำนวนการใช้บริการผู้ป่วยนอกสิทธิ UC ของ รพ.สังกัด สป.สธ.
หมายเหตุ ผู้ป่วยนอกของปี 2552 เพิ่มขึ้นจากปี 2545 ในอัตรา 32% ที่มาข้อมูล: จากระบบรายงาน0110 รง.5 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

9 หมายเหตุ ผู้ป่วยในของปี 2552 เพิ่มขึ้นจากปี 2545 ในอัตรา 23%
จำนวนการใช้บริการผู้ป่วยในสิทธิUCของ รพ.สังกัดสป.สธ. หมายเหตุ ผู้ป่วยในของปี 2552 เพิ่มขึ้นจากปี 2545 ในอัตรา 23% ที่มาข้อมูล: สกส. และสำนักนโยบายและแผน สปสช.

10 ที่มาข้อมูล : สำนักพัฒนาคุณภาพ สปสช.
Mortality Rate (per 100,000 pop.) from All Cardiovascular Diseases (I00 – I99) NHSS ที่มาข้อมูล : สำนักพัฒนาคุณภาพ สปสช. 10

11 ที่มาข้อมูล : สำนักพัฒนาคุณภาพ สปสช.
Mortality Rate (per 100,000 pop.) from Cerebrovascular Diseases (I60 – I69) NHSS ที่มาข้อมูล : สำนักพัฒนาคุณภาพ สปสช. 11

12 Mortality Rate (per 100,000 pop.) from HIV Diseases (B20 – B24)
NHSS ที่มาข้อมูล : กองทุนเอดส์ สปสช. 12

13 การบริหารงบ PP ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
เริ่มโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล การตรวจคัดกรอง & ปรับเปลียนพฤติกรรม (เฉพาะกลุ่ม non-uc) บริหารงบ PP ใน 3 รูปแบบ PP Vertical Program PP Facility based 3) PP Community based จัดสรรงบประมาณบางส่วน ตามผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัด (PP Performance) 2549 2550 2553 1. บริหารงบ PP ใน 3 รูปแบบ 1) P&P National Priority and Central Procurement 2) PP Expressed demand 3) PP Area based 2. ปรับ payment system จาก capitation เป็นจ่ายตามผลงาน Itemized ในบางรายการ 2. นำร่องเขตสุขภาพ 1.บริหารงบ PP ใน 4 รูปแบบ 1) PP Vertical Program 2) PP Community based 3) PP Expressed demand (diff. by age group) 4) PP Area based 2. บูรณาการงาน M&E ร่วมกับ สธ. 3. ขยายคัดกรองความเสี่ยง & ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทุกสิทธิ

14 แนวคิดการบริหารงบ P&P

15 สิ่งที่เปลี่ยนแปลงในปี 2553
ปรับโครงสร้างงบประมาณจาก 4 ส่วนเป็น 3 ส่วน ดังนี้ 1. National Priority Program & Central Procurement 2. PP Express demand แยกจัดสรรเป็น 2 ส่วน 2.1 จัดสรรตาม Capitation หักเงินเดือนและ diff. capitation by age group 2.2 จัดสรรตามผลการให้บริการราย Itemized โดยจัดสรรตามกลุ่มเป้าหมายประชากร (Target oriented) และกิจกรรมที่กำหนด (Activities – based) 3. รวม PPA + PPC (กองทุนฯตำบล) เป็น PPA เพื่อจัดสรรในลักษณะGlobal budget ระดับเขต สปสช.

16 กรอบการบริหารงบ P&P ปี 2553
P&P Capitation ( บาทต่อหัวปชก.ทุกสิทธิ 64.4 ล้านคน) คำนวณจาก บาท ต่อปชก.สิทธิ UC จำนวน 47.2 ล้านคน NPP &Central Procurement (15.17 บาท/คน) P&P Area based (รวม PP Community) (58.41 บาท/คน) P&P Expressed demand ( บาท/คน) Itemized 10 รายการ (31.79) Capitation (93.85) Area problem ( ส่วนที่เหลือจากกองทุนตำบล) กองทุน อปท. (40.00) Diff. by age group หักเงินเดือน

17 P&P National Priority and Central Procurement
ค่า Vaccine และระบบ VMI จัดพิมพ์สมุดบันทึกแม่ & เด็ก และสมุดบันทึกนักเรียน 2) National Priority Program ต่อเนื่องจากปี 2552 โครงการลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาประเทศ โครงการส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล โครงการสายใยรักของครอบครัว โครงการพัฒนาสมรรถนะการจัดการสร้างเสริม สุขภาพและป้องกันโรค

18  มีการจัดสรรเป็น 2 ส่วน
P&P Expressed Demand  เป็นการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรครายบุคคลตามชุดสิทธิประโยชน์ โดยหน่วยบริการ ซึ่งดำเนินการทั้งในและนอกหน่วยบริการ  มีการจัดสรรเป็น 2 ส่วน 1. เหมาจ่ายรายหัว Capitation 2. ตามผลการให้บริการ Itemization

19 P&P Expressed Demand (Capitation)
- การฝากครรภ์ - การตรวจหลังคลอด - การให้ภูมิคุ้มกันโรคในทุกช่วงอายุ - การดูแลสุขภาพและพัฒนาการตามวัยเด็ก - บริการวางแผนครอบครัว - การดูแลสุขภาพช่องปาก - บริการตรวจคัดกรองและการปรับพฤติกรรมสุขภาพทุกกลุ่มวัย - บริการให้สุขศึกษา ความรู้ คำแนะนำ - บริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันปัญหาด้านสุขภาพจิต - บริการอนามัยโรงเรียน - กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

20 P&P Expressed Demand (Itemization)
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดการเข้าถึงบริการ P&P ที่จำเป็น เพิ่มมากขึ้น 2. เพื่อให้เกิดคุณภาพการบริการ P&P และการดูแลอย่างต่อเนื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ่ายชดเชย 1. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการรายบุคคลครบถ้วนตามที่กำหนด 2. มีระบบการกำกับ ติดตาม ประเมินผล รวมทั้งการตรวจสอบการ ให้บริการ( Clinical & Financial Audit )

21 P&P Expressed Demand ( 10 Itemization)
ANC PNC FP EPI การตรวจคัดกรองTSH การตรวจสุขภาพช่องปากในเด็กอายุ 6-12 ปี ทุกสิทธิ ตรวจคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยง DM,HT,Stroke,Obesity ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี VIA,จี้เย็น,Pap Smear ตรวจคัดกรองและประเมินโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่ป่วย ด้วยโรคเรื้อรัง 5 โรค

22 P&P Area–based แนวทาง วัตถุประสงค์
ดำเนินงานร่วมกันระหว่าง สปสช. เขต และ เขตตรวจราชการสาธารณสุข ภายใต้หลักเกณฑ์ เงื่อนไขการจัดสรรงบของคณะกก. ระดับเขต โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ ท้องถิ่นและเอกชน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในระดับจังหวัดและเขต 2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน กระตุ้นให้หน่วยบริการจัดบริการเชิงรุกในชุมชน โดย การมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและชุมชนให้ประชาชนเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ 3. เพื่อสนับสนุนและจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

23 P&P Area based จัดสรรเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพ
อบต./เทศบาล ในอัตรา 40 บาท/ปชก. 2. จัดสรรให้ สปสช.สาขาจังหวัดเพื่อดำเนินงาน P&P สำหรับพื้นที่และชุมชนในอัตรา บาท/ปชก. รวมกับส่วนที่เหลือจากการจัดสรรใน ข้อ 1. (ปรับเกลี่ยในระดับประเทศ )

24 การกำกับติดตามประเมินผล งาน P&P ปี 2553
แผนการจัดสรร/การเบิกจ่ายงบประมาณ ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด (Composite Indicator) การกำกับติดตามโดยคณะทำงานร่วม สปสช. และกระทรวงสาธารณสุข พัฒนาระบบ Audit (Financial & Quality)

25 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt การบริหารงบบริการ P&P ปีงบประมาณ 2553

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google