งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

2 ทำไม ??? ต้องวิเคราะห์ข้อสอบ
เพื่อให้ได้ข้อสอบที่มีคุณภาพ เพื่อให้ได้ข้อสอบที่เหมาะสมจะนำไปวัดและประเมินผลการเรียน เพื่อให้ได้ข้อสอบที่สามารถจำแนกผู้เรียน เพื่อให้ได้ข้อสอบที่ตรงวัตถุประสงค์

3 ข้อสอบปรนัย ข้อสอบปรนัยสามารถแบ่งแยกย่อยได้แก่ แบบตอบสั้นๆ แบบเติมคำ
แบบจับคู่ แบบถูก-ผิด แบบเลือกตอบ

4 การสร้างข้อสอบ ศึกษาเนื้อหาและวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมตามหลักสูตร
ออกข้อสอบตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ต้องการวัด นำร่างแบบทดสอบมาตรวจสอบ โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา ทำการปรับปรุงแบบทดสอบตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ นำแบบทดสอบที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไข ไปทำการทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบถึงค่าความยากง่าย ค่าอำนาจจำแนก และค่าความเชื่อมั่น ให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด

5 ข้อสอบกับตารางวิเคราะห์หลักสูตร

6 แบบทดสอบปรนัย แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน (แบบฝึกหัด)
แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบครบทุกบท/ ครอบคลุมวัตถุประสงค์

7 คุณภาพของแบบทดสอบ ความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Validity)
ความเชื่อมั่นของข้อสอบ (Reliability) ความยาก (Difficulty) อำนาจจำแนก (Discrimination)

8 IOC: Index of consistency

9 ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อสอบ
IOC เทคนิค 25 % กลุ่มคะแนนสูง 25 % กลุ่มคะแนนต่ำ 25 % คะแนนกลาง ๆ ตัดทิ้งทั้งหมด การหาค่าความยากง่าย (P) อยู่ระหว่าง การหาค่าอำนาจจำแนก (D) ตั้งแต่ 0.25 ขึ้นไป การหาค่าความเชื่อมั่น 0.8 ขึ้นไป

10 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อสอบ
การหาค่าความยากง่ายและค่าอำนาจจำแนก ของแบบทดสอบ P = ระดับความยากง่ายของแบบทดสอบ D = ค่าอำนาจจำแนก RU = จำนวนคนที่ทำข้อสอบแต่ละข้อถูก ในกลุ่มเก่ง RL = จำนวนคนที่ทำข้อสอบแต่ละข้อถูก ในกลุ่มต่ำ N = จำนวนคนทั้งหมด NU = จำนวนคนทั้งหมดในกลุ่มเก่ง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อสอบ

11 ความยากง่าย

12 อำนาจจำแนก

13 ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อสอบ
  ข้อที่ 1 2 3 4 5 6 จำนวนคนในกลุ่มสูงที่ตอบถูก 20 22 9 13 15 12 จำนวนคนในกลุ่มต่ำที่ตอบถูก 10 17 8 ระดับความยาก 0.68 0.50 0.59 0.41 0.45 อำนาจจำแนก 1.00 -0.36 0.36 0.00 0.18

14 ค่าความเชื่อมั่น (KR-20)
ค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบ (Reliability index) n S2- pi(1-pi) KR-20 = n i=1 n S2

15 การเลือกข้อสอบที่วิเคราะห์แล้ว
IOC ตั้งแต่ 0.8 ค่าความยากง่าย (P) อยู่ระหว่าง ค่าอำนาจจำแนก (D) ตั้งแต่ 0.2 ขึ้นไป ค่าความเชื่อมั่น 0.8 ขึ้นไป

16 ตรวจสอบผลการวิเคราะห์
มีความบกพร่องที่ตัวข้อสอบเอง เช่น คำถามไม่ ชัดเจน ออกข้อสอบไม่ตรงตามวัตถุประสงค์และเนื้อหาวิชาที่กำหนดไว้ เช่น ถามเรื่องที่ไม่สำคัญ หรือตัวเลขที่ไม่ จำเป็นต้องจำ มีความบกพร่องที่การเรียนการสอน ไม่เน้นเรื่องที่สำคัญและต้องรู้

17 โปรแกรมวิเคราะห์ข้อสอบ
EVANA B-Index Simple Item Analysis TAP test Analysis SPSS ฯลฯ

18 คำถาม ????

19 วิทยากร


ดาวน์โหลด ppt การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google