งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รู้จักและใช้งานโปรแกรม SPSS for Windows เบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รู้จักและใช้งานโปรแกรม SPSS for Windows เบื้องต้น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รู้จักและใช้งานโปรแกรม SPSS for Windows เบื้องต้น
นันท์นภัส สุขใจ งานสารสนเทศ สคร.๕ นครราชสีมา ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๒

2 การจัดการข้อมูล Next ๑. เก็บรวบรวมข้อมูล ๒. วิเคราะห์ข้อมูล ..
๑. เก็บรวบรวมข้อมูล ประเภทของข้อมูล .. เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล : แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบบันทึก แบบทดลอง ทดสอบคุณภาพเครื่องมือ ๒. วิเคราะห์ข้อมูล .. ๓. เขียนรายงาน Next ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ SPSS

3 ตัวอย่างประเภทของข้อมูล
Back ๑. เพศ (๑) ชาย (๒) หญิง ๒. ภูมิลำเนา (๑) ภาคเหนือ (๒) ภาคกลาง (๓) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (๔) ภาคใต้ ๓. รายได้ต่อเดือน บาท ๔. อายุ ปี ๕. ระดับความชอบในรสชาติของสินค้า (เรียงตามลำดับ ๑=มาก, ๒=ปานกลาง, ๓=น้อย) (๑) รสวานิลา (๒) รสสตอเบอร์รี่ (๓) รสช๊อคโกแลต ๖. ทัศนคติที่มีต่อสินค้า Ordinal Scale Nominal Scale คำถาม ๔= เห็นด้วยอย่างมาก ๓= เห็นด้วย ๒= ไม่เห็นด้วย ๑= ไม่เห็นด้วยอย่างมาก รสชาติ บรรจุภัณฑ์ Ratio Scale Interval Scale

4 ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล
Back ตรวจสอบแก้ไข ใส่รหัส (Coding) .. ตรวจสอบความผิดพลาด ป้อนข้อมูล (Data Entry) วิเคราะห์ข้อมูล .. สถิติ เชิงพรรณนา วิเคราะห์ ตัวแปรเดียว วิเคราะห์ สองตัวแปร วิเคราะห์ หลายตัวแปร การตีความ (Zikmund. 1996:508)

5 คู่มือการลงรหัส คำถามที่ ชื่อตัวแปร (Name) ความหมาย (Label) ขนาดตัวแปร
(Width) ค่าที่เป็นไปได้ (Values) ๑. V๑ ลำดับ ๒. V๒ เพศ ๑ = ชาย ๒ = หญิง ๓. V๓ อายุ ๔. V๔ การศึกษา ๑ = มัธยมต้น ๒ = มัธยมปลาย ๓ = อนุปริญญา ๔ = ปริญญาตรี ๕ = สูงกว่าปริญญาตรี

6 การลงรหัสข้อมูล Back

7 สถิติพื้นฐานที่นิยมใช้ในงานวิจัย
Back ชนิดของข้อมูล สถิติพื้นฐานที่นิยมใช้ Nominal Scale ค่าความถี่ (ร้อยละ) ฐานนิยม (Mode) Ordinal Scale ค่ามัธยฐาน (Median) /ฐานนิยม (Mode) Interval or Ration Scale ค่ากลาง (Mean, Median, Mode) ค่าการกระจาย (Variance, Range, SD)

8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ SPSS
SPSS (Statistical Package for the Social Science) ลิขสิทธิ์ SPSS Inc. & IBM เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีทางสถิติ สามารถแสดงผลในรูปของตาราง กราฟ และวิเคราะห์ทางสถิติที่หลากหลาย ส่วนประกอบสำคัญในการใช้ SPSS โปรแกรม ข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์

9 สกุลไฟล์ของ SPSS *.sav = สำหรับเก็บข้อมูล (SPSS)
*.sps = สำหรับเก็บคำสั่งสำเร็จรูป (Syntax) *.spo = สำหรับเก็บผลการวิเคราะห์ (Viewer document) *.sbs = สำหรับเก็บคำสั่งที่เป็นภาษา (SPSS Script)

10 - จะต้องเลือกสถิติที่เหมาะสมกับลักษณะข้อมูลตามมาตรวัด -
เนื้อหา ๑. การติดตั้งโปรแกรม .. ๒. การเรียกใช้โปรแกรม .. ๓. ส่วนประกอบของโปรแกรม .. ๔. กำหนดตัวแปร Variable View .. ๕. กรอกข้อมูล Data View .. ๖. บันทึกไฟล์ข้อมูล ปิด-เปิดไฟล์ข้อมูล .. ๗. แสดงผลลัพธ์ Output Window (ตาราง ข้อความ กราฟ) .. - Frequencies.. - Descriptive.. - จะต้องเลือกสถิติที่เหมาะสมกับลักษณะข้อมูลตามมาตรวัด -

11 Back ๑. การติดตั้งโปรแกรม ใน CD มี 2 ไฟล์ คือ ดับเบิ้ลคลิ๊กไฟล์
เข้าสู่การติดตั้งโปรแกรม

12 คลิ๊กปุ่ม Next > คลิ๊ก  I accept… คลิ๊กปุ่ม Next >

13 คลิ๊กปุ่ม Next > กรอกข้อมูลส่วนตัว (อะไรก็ได้) คลิ๊กปุ่ม Next >

14 คลิ๊กปุ่ม Next > คลิ๊กปุ่ม Install

15 กำลังติดตั้งโปรแกรม คลิ๊กปุ่ม Finish

16 แสดงรายละเอียดโปรแกรม
ปิดหน้าจอนี้

17 Crack โปรแกรม โดย... - คลิ๊กขวาที่ไฟล์ spssv13.crack - เลือก Extract Files… - คลิ๊กที่ Desktop เพื่อแตกไฟล์ไว้ที่นี่ คลิ๊กปุ่ม OK

18 ที่ Desktop จะได้ 4 ไฟล์ - คลิ๊กขวาที่ไฟล์ crack - เลือก Extract Here จะได้ไฟล์ Patch เพิ่มขึ้นมา - Copy ไฟล์ทั้งหมด ไปวางที่ C:\Program Files\SPSSEVAL

19 Back - ดับเบิลคลิ๊กไฟล์ Patch - คลิ๊กปุ่ม Patch it!
แสดงหน้าจอ Success! คลิ๊กปุ่ม OK

20 Back ๒. การเรียกใช้โปรแกรม เปิดโปรแกรม คลิ๊กที่
Start เลือก Programs เลือก SPSS for Windows เลือก SPSS 13.0 for Windows

21 หน้าต่าง SPSS เมื่อเปิดโปรแกรม
Back Run the tutorial แนะนำข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับโปรแกรม Type in Data เริ่มการพิมพ์ข้อมูลใหม่ Run an existing query การทำงานร่วมกับระบบฐานข้อมูล Create new query using Database Capture Wizard การสร้างส่วนทำงานร่วมกับระบบฐานข้อมูล Open an existing file เปิดไฟล์ที่มีอยู่แล้วขึ้นมาทำงาน Open another type of file เปิดไฟล์ที่สร้างจากโปรแกรมอื่นเข้ามาทำงานในโปรแกรม SPSS ไม่ต้องการให้แสดงหน้าต่างนี้อีกในการเปิดครั้งต่อไป

22 ๓. ส่วนประกอบของหน้าต่างหลัก
ไตเติลบาร์ เมนูบาร์ ทูลบาร์ ชื่อตัวแปร ชุดตัวแปร กำหนดค่า ตัวแปร ดูและแก้ไขข้อมูล สร้างและแก้ไขตัวแปร แสดงสถานะ การทำงาน แถบมุมมอง (View Bar)

23 ส่วนประกอบที่สำคัญของเมนูบาร์
Back แถบเครื่องมือคำสั่งสำเร็จรูปที่ใช้สั่งให้โปรแกรมทำงานตามต้องการ File จัดการไฟล์ Edit แก้ไข/ปรับปรุง View รูปแบบ/แสดง Data จัดการข้อมูล Transform แปลงข้อมูล Analyze วิเคราะห์ข้อมูล Graphs สร้างกราฟ Utilities เครื่องมือ Window แสดงหน้าต่าง Help ช่วยเหลือ

24 ๔. กำหนดตัวแปร Variable View
Name กำหนดชื่อตัวแปร (ความยาวไม่เกิน 8 ตัว) Type กำหนดชนิดของตัวแปร ... Width กำหนดจำนวนความกว้างของค่าตัวแปร (ความยาวของข้อมูล) Decimals กำหนดจำนวนตัวเลขหลังจุดทศนิยม Label กำหนดนิยามหรือชื่อของตัวแปรโดยละเอียด (จะรายงานใน Output) Value กำหนดค่าตัวแปร หรือความหมายของค่าของตัวแปร กรณีที่แปลงจากข้อมูล เชิงกลุ่มเป็นตัวเลข เช่น 1=ชาย 2=หญิง Missing กำหนดเมื่อไม่พบค่าตัวแปร No missing values ไม่ได้กำหนดค่า System – missing value โปรแกรมจะให้ค่าเป็นจุด (.) Discrete missing values ผู้ใช้เป็นผู้กำหนดรหัสของ missing เอง Range plus one optimal discrete missing value กรณีที่กำหนดให้ผู้ตอบข้าม หรือไม่ต้องตอบคำถามบางข้อ Columns กำหนดความกว้างของช่อง Columns ในหน้าจอ Data View Align ตำแหน่งของข้อมูล (จัดชิดซ้าย กลาง หรือขวา) Measure เลือกระดับข้อมูล คือ Nominal, Ordinal และ Scale (Interval และ Ratio)

25 ชนิดตัวแปร (Type) Numeric ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (เป็นบวกหรือลบก็ได้)
Comma ข้อมูลที่เป็นตัวเลข ถ้าเกินหลักพันจะมีเครื่องหมาย comma คั่น Dot ข้อมูลที่เป็นตัวเลข ถ้าเกินหลักพันจะมีเครื่องหมาย comma คั่น และถ้ามีจุดทศนิยมจะมี . คั่น Scientific Notation ข้อมูลที่เป็นตัวเลข และมีการใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ Date ข้อมูลที่เป็นวันที่ Dollar ข้อมูลที่เป็นรูปตัวเงิน $ Custom Currency ข้อมูลลักษณะตัวเงิน String เป็นตัวแปรที่มีค่าเป็นตัวเลข ตัวอักษร

26 หลักการตั้งชื่อตัวแปร
Back ชื่อตัวแปรต้องไม่ลงท้ายด้วยจุด ชื่อตัวแปรต้องไม่เว้นวรรค และไม่มีอักษรพิเศษ เช่น !, ?, ‘ , * ชื่อตัวแปรจะต้องไม่ซ้ำกัน อักษรตัวเล็กและอักษรตัวใหญ่ในชื่อตัวแปรจะไม่มีความแตกต่างกัน เช่น Sax กับ sax

27 1 2

28 Back ๕. กรอกข้อมูล Data View
ส่วนกำหนดค่าชุดของตัวแปรในแต่ละชุด หรือใช้ในการป้อนข้อมูล หรือแสดงข้อมูล

29 ๖. บันทึก ปิด เปิดไฟล์ข้อมูล
Back

30 ๗. แสดงผลลัพธ์ Output Window
Back Contents Outline

31 Back คำสั่ง Frequencies เลือกตัวแปร คลิ๊กปุ่ม >
คลิ๊กปุ่ม Statistics…

32 คำสั่ง Frequencies (ต่อ)
กลุ่มค่าเปอร์เซนไทล์ (Percentile Values) Quartile เปอร์เซนไทล์ที่ 25, 50, 75 Cut points for equal groups ค่าเปอร์เซนไทล์ที่แบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่มย่อยที่มีขนาดเท่ากัน (จำนวนแถวข้อมูลเท่ากัน) Percentile (s) ค่าเปอร์เซนไทล์หลายค่าตามที่ต้องการ กลุ่มการวัดการกระจาย (Dispersion) Std. deviation ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน Variance ค่าความแปรปรวน Range ค่าพิสัย Minimum ค่าต่ำสุดของข้อมูล Maximum ค่าสูงสุดของข้อมูล S.E. mean ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของค่าเฉลี่ย กลุ่มที่ใช้วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Central Tendency) Mean หมายถึง ค่าเฉลี่ย Median หมายถึง ค่ามัธยฐาน Mode หมายถึง ฐานนิยม Sum หมายถึง ผลรวมของข้อมูล กลุ่มที่ใช้แจกแจงข้อมูล (Distribution) Skewness หมายถึง ค่าความเบ้ของการแจกแจงข้อมูล Kurtosis หมายถึง ค่าความโด่งของการแจกแจงข้อมูล

33 คำสั่ง Frequencies (ต่อ)
คลิ๊กปุ่ม Charts… กราฟแท่ง (Bar charts) กราฟวงกลม (Pie Charts) ฮิสโตแกรม (Histograms)

34 Back คำสั่ง Frequencies (ต่อ) Order by เป็นการเลือกวิธีการแสดงผล
- Ascending Values เรียงลำดับตามค่าตัวแปรจากน้อยไปมาก - Descending Values เรียงลำดับตามค่าตัวแปรจากมากไปน้อย - Ascending Counts เรียงลำดับตามค่าความถี่จากน้อยไปมาก - Descending Counts เรียงลำดับตามค่าความถี่จากมากไปน้อย คลิ๊กปุ่ม Format… Multiple Variables การเสนอผลของตัวแปรหลายตัว - Compare variables แสดงตัวแปรทั้งหมดในตารางเดียวกัน - Organize output by variables แสดงผลแยกตารางในแต่ละตัวแปร Suppress tables with more than categories กำหนดจำนวนรายการลงในกล่องข้อความ แสดงผลการแจกแจงความถี่ของข้อมูลในตารางไม่เกินจำนวนรายการที่กำหนด และถ้ามีรายการแสดงผลมากเกินจำนวนรายการที่กำหนด โปรแกรมก็จะไม่แสดงผลออกมา

35 Back คำสั่ง Descriptive Std. deviation หมายถึง ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
Variance หมายถึง ค่าความแปรปรวน Range หมายถึง ค่าพิสัย Minimum หมายถึง ค่าต่ำสุดของข้อมูล Maximum หมายถึง ค่าสูงสุดของข้อมูล S.E. mean หมายถึง ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของค่าเฉลี่ย

36 คำนวณค่าสถิติพื้นฐานของตัวแปรทั้งหมด
Analyze  Descriptive Statistics  Frequencies… Analyze  Descriptive Statistics  Descriptive…

37 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยสำหรับ 2 กลุ่มตัวอย่าง
สถิติที่ใช้ทดสอบ z-test และ t-test z-test ต้องทราบค่าความแปรปรวน t-test ถ้าจำนวนตัวอย่างมาก จะไม่แตกต่างจาก z-test มีการสุ่มตัวอย่างจากแต่ละประชากรเป็นอิสระกัน สมมติฐานที่ต้องการทดสอบ H0 : µ1 = µ2 หรือ H0 : µ1 - µ2 = 0 H1 : µ1 ≠ µ2 หรือ H1 : µ1 - µ2 ≠ 0 จากตัวอย่างตั้งสมมติฐานได้ว่า H0 : ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยไม่ขึ้นกับเพศ H1 : ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยขึ้นกับเพศ

38 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยสำหรับ 2 กลุ่มตัวอย่าง
Analyze  Compare Means  Independent-Samples T Test…

39 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยตั้งแต่สองกลุ่มขึ้นไป
สถิติที่ใช้ทดสอบ F-test เป็นการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว [One Way ANOVA] ค่าความแปรปรวนของแต่ละกลุ่มต้องเท่ากัน สมมติฐานที่ต้องการทดสอบ H0 : µ1 = µ2 = µ3 …= µn H1 : µi ≠ µj มีอย่างน้อย 1 คู่ ที่ไม่เท่ากัน จากตัวอย่างตั้งสมมติฐานได้ว่า H0 : ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยไม่ขึ้นกับเพศ H1 : ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยขึ้นกับเพศ

40 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยตั้งแต่สองกลุ่มขึ้นไป
Analyze  Compare Means  One-Way ANOVA…

41 การวิเคราะห์ตารางไขว้ (Crosstab)
ตัวแปรทั้ง 2 ตัว เป็นตัวแปรเชิงกลุ่มหรือเชิงคุณภาพ สถิติที่ใช้ในการทดสอบ ได้แก่ Pearson Chi-Square สมมติฐานที่ใช้ในการทดสอบ H0: ตัวแปรทั้ง 2 ตัวเป็นอิสระกัน H1: ตัวแปรทั้ง 2 ตัวไม่เป็นอิสระกัน ถ้าตารางขนาด 22 และ Eij < 5 เกินกว่า 20% ของ cell ทั้งหมด ให้ใช้ Fisher’s Exact test แทน Pearson Chi-Square

42 การวิเคราะห์ตารางไขว้ (Crosstab)
Analyze  Descriptive Statistics  Crosstabs…


ดาวน์โหลด ppt รู้จักและใช้งานโปรแกรม SPSS for Windows เบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google