งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
การศึกษาอัตราการติดเชื้อสครับไทฟัส และมิวรีนไทฟัส ในสัตว์พาหะนำโรคพื้นที่การระบาดของโรคสครับไทฟัส ปี ๒๕๕๓ ในพื้นที่เขตสาธารณสุข ๑๗ นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก

2 จังหวัดที่มีอัตราป่วยเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ อุตรดิตถ์ ตาก พิษณุโลก
สถานการณ์โรคสครับ ไทฟัส ในพื้นที่ตรวจราชการสาธารณสุขที่ ๑๗ อัตราป่วยโรคสครับไทฟัส สคร.๙พิษณุโลก จำแนกรายปี จังหวัดที่มีอัตราป่วยเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ อุตรดิตถ์ ตาก พิษณุโลก - มค.- กย. ๒๕๕๓ จำนวน ๑๐๒๔ ราย เสียชีวิต ๓ ราย - สค.- กย. มีรายงานสูงกว่า ค่ามัธยฐาน และปี๒๕๕๒ ถึง ๒ เท่า อัตราป่วยโรคสครับไทฟัส สคร.๙พิษณุโลก ปี ๒๕๕๒และ๒๕๕๓ จำแนกรายจังหวัด

3 อุตรดิตถ์ พิษณุโลก ตาก
อ.บ้านโคก อ.น้ำปาด จ.อุตรดิตถ์ อุตรดิตถ์ สุโขทัย พิษณุโลก ตาก อ.ท่าสองยาง อ.แม่ระมาด อ.แม่สอด อ.พบพระ อ.อุ้มผาง จ.ตาก อ.ชาติตระการ อ.นครไทย อ.บางกระทุ่ม จ. พิษณุโลก เพชรบูรณ์

4 วัตถุประสงค์ เพื่อทราบชนิดของพาหะนำโรคในสัตว์นำโรคสครับไทฟัส
เพื่อทราบอัตราการติดเชื้อโรคสครับไทฟัสและมิวรีนไทฟัสของสัตว์นำโรค ในพื้นที่การระบาดของโรคสครับไทฟัส

5 วิธีการศึกษา (1) รูปแบบการศึกษา การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey study)
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย สัตว์นำโรคสครับไทฟัส ได้แก่ หนู กระรอก กระแต จำนวนทั้งหมดที่ดักจับได้ พื้นที่ศึกษา หรือดำเนินโครงการ พื้นที่ที่มีการระบาดของโรคสครับไทฟัส ปี ๒๕๕๓ ในเขตสาธารณสุข ๑๗

6 วิธีการศึกษา (2) ขั้นตอนการดำเนินการ ประสานพื้นที่เพื่อขอดำเนินการ
วางกรงดักจับสัตว์นำโรคในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค วางยาสลบสัตว์ที่ดักได้ นับจำนวน แยกชนิด เพศ เจาะเลือดจากสัตว์นำโรค แคะไรอ่อน สางหมัด และเห็บจากสัตว์นำโรค

7 วิธีการศึกษา (3) ขั้นตอนการดำเนินการ แยกชนิดไรอ่อน หมัด และเห็บ
นำส่งเลือดจากสัตว์นำโรคเพื่อตรวจหาเชื้อ สครับไทฟัสและมิวรีนไทฟัส โดยวิธี IFA ที่ AFRIMS วิเคราะห์ผลเปรียบเทียบการติดเชื้อในสัตว์นำโรคกับผู้ป่วยในพื้นที่ระบาด เขียนรายงานการศึกษา นำเสนอผลการศึกษา

8 วิธีการศึกษา (4) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ๕ จังหวัด ในเขต สาธารณสุข ๑๗ สำนักโรคติดต่อทั่วไป สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร (AFRIMS) กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สคร.๙ พิษณุโลก กลุ่มโรคติดต่อทั่วไป สคร.๙ พิษณุโลก

9 วิธีการศึกษา (5) แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Epi Info สถิติ ที่ใช้ ร้อยละ

10 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ทราบความชุกของสัตว์นำโรคในพื้นที่ระบาดโรคสครับไทฟัส เป็นแนวทางในการกำหนดมาตรการป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคสครับไทฟัส และมิวรีนไทฟัส

11 ระยะเวลาที่ศึกษา มกราคม ถึง มีนาคม ๒๕๕๔

12 งบประมาณและแหล่งทุน งบประมาณ
ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าที่พัก ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าเหยื่อสำหรับดักจับหนู ค่าตรวจวิเคราะห์เชื้อสครับไทฟัส และมิวรีนไทฟัส แหล่งทุน กรมควบคุมโรค (กรณีมีงบสนับสนุน)

13 ทีมงาน น้องเลี้ยงพี่เลี้ยงที่ปรึกษา
พี่เลี้ยงที่ปรึกษา สำนักโรคติดต่อทั่วไป อ.อัญชนา ประศาสน์วิทย์ ทีมงานน้องเลี้ยง นายนที ประสิทธิ์เขตกิจ นายสมนึก ดอนหัวรอ นายคำพล แสงแก้ว นายสมชาย แซ่ท่อ นางสาวเยาวลักษณ์ โตอินทร์ นางสาวธนัญญา สุทธวงค์

14


ดาวน์โหลด ppt นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google