งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ธัญภา จันทร์โท สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา

2 อัตราตาย ต่อประชากร 100,000 คน ด้วยกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคถุงลมอุดกั้น อุบัติเหตุและการเป็นพิษ ปี พ.ศ ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 2 2

3 อัตราตาย ต่อประชากร 100,000 คน ด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ (โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง และโรคเบาหวาน) ปี พ.ศ ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

4 อัตราผู้ป่วยในต่อประชากรแสนคน ด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ พ. ศ
อัตราผู้ป่วยในต่อประชากรแสนคน ด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ พ.ศ (ทั้งประเทศ ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

5 จำนวนและอัตราการตายต่อประชากรแสนคนจากสาเหตุของการตายสำคัญ จำแนกรายภาค พ.ศ. 2549
สาเหตุการตาย ประเทศ เหนือ ตะวันออก/เหนือ กลาง ใต้ ทุกสาเหตุ 100 % คน 391,126 84,493 117,856 141,103 47,674 มะเร็งทั้งหมด คน (13.3 %) อัตรา 52,062 83.1 10,156 85.4 19,039 89.2 18,658 89.6 4,209 49.2 โรคระบบหลอดเลือดฯ – คน (8.7 %) อัตรา 34,106 54.5 7,149 60.1 7,420 34.8 15,058 72.3 4,479 52.3 > หัวใจขาดเลือด คน (3.1 %) อัตรา 12,163 19.4 2,459 20.7 2,096 9.8 5,875 28.2 1,733 20.2 > โรคหลอดเลือดสมอง คน (3.3 %) อัตรา 12,921 20.6 1,047 8.8 1,502 7.0 2,251 10.8 761 8.9 > โรคความดันโลหิตสูง คน (0.6 %) อัตรา 2,363 3.8 555 4.7 2.6 736 3.5 517 6.0 > โรคเบาหวาน คน (1.9 %) อัตรา 7,486 12.0 1096 9.2 3,808 17.8 1,856 726 > อุบัติเหตุการขนส่ง คน (2.7 %) อัตรา 10,445 16.7 2,066 17.4 2,948 13.8 3,684 17.7 1,747 20.4 ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 5

6 ประมาณการประชากรไทยสำหรับแต่ละปัจจัยเสี่ยง
ปี 2548 ปี 2550 เบาหวาน 1,530,313 ความดันสูง 3,667,234 อ้วน 1,392,884 สูบบุหรี่ 10,032,420 ดื่มสุรา 17,018,006 เบาหวาน 1,798,366 ความดันสูง 4,296,221 อ้วน 1,717,196 สูบบุหรี่ 9,790,519 ดื่มสุรา 16,532,714

7 ร้อยละของพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ
(จากการสำรวจ BRFSS) น้ำหนักเกินและอ้วน 16.1 15.4 อ้วน 3.0 3.7 การเคลื่อนไหว,ออกกำลังกาย 91.5 92.5 ออกกำลังกาย 30 นาที, 3 ครั้ง 30.9 37.5 ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 37.4 36.1 - ดื่มหนัก 3.6 - ดื่มเกิน 5 แก้วมาตรฐาน/ครั้ง 14.0 13.7 สูบบุหรี่ 22.5 21.5 รับประทานผักและผลไม้ (> 5 ถ้วยมาตรฐาน) 17.3 ปี

8 จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน เขต 14 ปี 2550-2552
ปี 2552 69, 22, 27, จังหวัด ปี 50 ปี 51 เพิ่ม/ ลด นม 42032 60512 (43%) ชย 19282 20734 +1452 (7%) บร 19655 22889 +3234 (16%) สร 18055 18255 +200 (1%) รวมเขต 99024 122390 (23%)

9 จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เขต 14 ปี 2550-2552
ปี 52 81, 29, 29, จังหวัด ปี 50 ปี 51 เพิ่ม/ ลด นม 52000 70480 (35%) ชย 20396 26381 +5985 (29%) บร 25625 28415 +2790 (10%) สร 19073 23508 +4435 (23%) รวมเขต 117094 148785 (27%)

10 อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน
อัตราป่วยต่อแสน ด้วยโรคเบาหวาน ปี เขต 14จำแนกรายจังหวัด (แหล่งข้อมูล จาก สสจ. ในเขต) อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นจาก ปี 2548 พบอัตราป่วยต่อแสน , ปี2551 เป็น เพิ่มขึ้น 1.5 เท่า หรือร้อยละ ภายในระยะเวลา 3 ปี อัตราป่วยต่อแสน ด้วยโรคความดันโลหิตสูง ปี เขต 14 จำแนกรายจังหวัด โรคความดันโลหิตสูง ปี 2548 พบอัตราป่วยต่อแสน , ปี2551 เพิ่มเป็น เพิ่มขึ้น 1.6 เท่า หรือร้อยละ 60.7 ภายในระยะเวลา 3 ปี

11 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง พบร้อยละ 18.14
ร้อยละของระดับความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปี 2551 เขต 14 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง พบร้อยละ 18.14 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน พบร้อยละ 14.91

12 ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานจากการคัดกรอง
ปี เขต 14

13 ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานจากการคัดกรอง
ปี จังหวัดชัยภูมิ

14 ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานจากการคัดกรอง
ปี จังหวัดบุรีรัมย์

15 ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานจากการคัดกรอง
ปี จังหวัดสุรินทร์

16 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง
ร้อยละของระดับความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปี 2551 เขต 14 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง

17 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง
ร้อยละของระดับความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปี 2552 เขต 14 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง

18 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง
ร้อยละของระดับความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปี 2552 จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง

19 ร้อยละของระดับความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปี 2551 จังหวัดชัยภูมิ กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง พบร้อยละ 18.14 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน พบร้อยละ 14.91

20 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง
ร้อยละของระดับความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปี 2552 จังหวัดชัยภูมิ กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง

21 ร้อยละของระดับความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปี 2551 จังหวัดบุรีรัมย์ กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง พบร้อยละ 18.14 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน พบร้อยละ 14.91

22 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง
ร้อยละของระดับความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปี 2552 จังหวัดบุรีรัมย์ กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง

23 ร้อยละของระดับความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปี 2551 จังหวัดสุรินทร์ กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง พบร้อยละ 18.14 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน พบร้อยละ 14.91

24 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง
ร้อยละของระดับความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง ในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปี 2552 จังหวัดสุรินทร์ กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง

25 ร้อยละของระดับโอกาสเสี่ยงต่อโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2551 เขต 14 กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความเสี่ยงต่อการเกิด อัมพฤกษ์ อัมพาต ถึงร้อยละ 47.8

26 ร้อยละของระดับโอกาสเสี่ยงต่อโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2551จังหวัดนครราชสีมา

27 ร้อยละของระดับโอกาสเสี่ยงต่อโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2551จังหวัดชัยภูมิ

28 ร้อยละของระดับโอกาสเสี่ยงต่อโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2551จังหวัดบุรีรัมย์

29 ร้อยละของระดับโอกาสเสี่ยงต่อโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2551จังหวัดสุรินทร์

30 ร้อยละของน้ำหนักเกิน (BMI 25 ขึ้นไป) ปี 2548 ,2550 (จากการสำรวจ BRFSS )

31 ร้อยละของอ้วนอันตราย (BMI 30 ขึ้นไป) ปี 2548 ,2550 (จากการสำรวจ BRFSS )

32 ร้อยละของผู้ที่มีรอบเอวเกิน ปี 2550 (จากการสำรวจ BRFSS )

33 ร้อยละของกินผักหรือผลไม้ผ่านเกณฑ์ (5 หน่วยมาตรฐานต่อวัน) ปี 2548 และ 2550 (จากการสำรวจ BRFSS)

34 ร้อยละของการมีกิจกรรมทางกายอย่างเพียงพอ ปี 2548 , 2550 (จากการสำรวจ BRFSS )
*ทำงานใช้แรงอย่างหนักไม่น้อยกว่าวันละ 4 ชม. หรือใช้แรงปานกลางถึงไม่ออกแรง แต่มีการออกกำลังกายอย่างน้อยครั้งละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 ครั้ง

35 ร้อยละของการมีการออกกำลังกายผ่านเกณฑ์ ปี 2548 , 2550 (จากการสำรวจ BRFSS )
ออกกำลังกายผ่านเกณฑ์ อย่างน้อยครั้งละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 ครั้ง

36 ร้อยละของการสูบบุหรี่ ปี 2548 ,2550 (จากการสำรวจ BRFSS )

37 ร้อยละของการดื่มสุราเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ปี 2548 ,2550 (จากการสำรวจ BRFSS )
ดื่มสุราเป็นอันตรายต่อสุขภาพ หมายถึง ดื่มครั้งละ 5 แก้วมาตรฐานอย่างน้อย 1 ครั้งในรอบ 30 วัน

38 จากข้อมูลดังกล่าว บอกอะไรเราได้บ้าง
จากข้อมูลดังกล่าว บอกอะไรเราได้บ้าง น่าจะมีข้อมูลอื่นๆ อะไรอีกบ้าง จะได้มาอย่างไร

39


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google