งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
แนวทางการดำเนินงานของ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ที่สนับสนุนนโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ ชลิต เข็มมาลัย กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี

2 กรอบแนวคิด 5 คุณลักษณะ ของ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
1. มีคณะกรรมการฯ : ภาคส่วนที่สำคัญมีส่วนร่วม เช่น อปท. สาธารณสุข อสม. 2. มีระบบระบาดวิทยาที่ดี : ข้อมูล ทันสถานการณ์ 3. มีการวางแผนฯ : แนวทางแก้ไข ตามปัญหาพื้นที่ 4. มีการระดมทุน 5. มีผลสำเร็จของการควบคุม ป้องกันโรคและภัยสุขภาพ : แก้ไขปัญหาพื้นที่ทันการณ์ SRRT ตำบล

3 ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว
(Surveillance and Rapid Response Team, SRRT) เดิมเป็นภารกิจที่กระทรวงสาธารณสุขดำเนินการผ่านทางกรมควบคุม โรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และสถานีอนามัย พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น พ.ศ ได้กำหนดให้การป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ เป็นหน้าที่ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องทำ

4 งานควบคุมโรค บางหน่วยงานอาจจำแนกย่อยเป็นรายโรค/ภัยสุขภาพ
หรือกลุ่มโรค เป็นการดำเนินมาตรการและกลวิธีต่าง ๆ เพื่อป้องกัน ควบคุมการเกิดโรคและภัยสุขภาพให้อยู่ในระดับปกติ และดำเนินการ ควบคุมการระบาด เมื่อมีการเกิดโรคและภัยสุขภาพที่เป็นภาวะฉุกเฉิน ทางสาธารณสุข งานระบาดวิทยา ทำหน้าที่เฝ้าระวังและตรวจจับการเกิดโรค/ภัยที่ฉุกเฉิน ผิดปกติ สอบสวนหาสาเหตุ และร่วมควบคุมการระบาดขั้นต้น

5 ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว
(Surveillance and Rapid Response Team, SRRT) บาบาทหน้าที่ 1. เฝ้าระวังโรคติดต่อที่แพร่ระบาดรวดเร็วรุนแรง 2. ตรวจจับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public health emergency) 3. สอบสวนโรคอย่างมีประสิทธิภาพทันการณ์ 4. ควบคุมโรคขั้นต้น (containment) ทันที 5. แลกเปลี่ยนข้อมูลเฝ้าระวังโรคและร่วมมือกันเป็นเครือข่าย

6 ระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ กับหน่วยงานองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงาน ทีม SRRT อำเภอและเครือข่ายมีความพร้อมและปฏิบัติงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดตั้งทีม SRRT ระดับอำเภอ ประกอบด้วย นายอำเภอ /ผอก.รพ./ สสอ./รพ.สต /อบต. การจัดตั้งทีม SRRT ระดับตำบล ประกอบด้วย รพ.สต /อบต./อสม./ ผู้นำชุมชน/ ประชาชน คณะกรรมการทีม SRRT และผ่านการอบรม

7 ระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
แนวทางการดำเนินงาน การเฝ้าระวังเหตุการณ์ กรณีที่พบความผิดปกติหรือมีการระบาด เฝ้าระวังหรือสำรวจข้อมูลด้านพฤติกรรม หรือสิ่งแวดล้อม ที่เป็นปัจจัยเสี่ยงของโรค/ภัยสุขภาพในพื้นที่ อบต./อสม./ ผู้นำชุมชน/ ประชาชน

8 ระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
แนวทางการดำเนินงาน มีการแจ้งข่าวแก่เครือข่าย กรณีที่พบความผิดปกติหรือมีการระบาด อบต./อสม./ ผู้นำชุมชน/ ประชาชน

9 ระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
แนวทางการดำเนินงาน มีการจัดทำหรือนำเสนอรายงานสถานการณ์ทุกเดือน การประชุมทีม SRRT เครือข่ายระดับตำบล รพ.สต./อบต.

10 ระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
แนวทางการดำเนินงาน มีการสอบสวนโรค/ภัยสุขภาพ กรณีที่พบความผิดปกติหรือมีการระบาด สสอ./รพ.สต./อบต./อสม.

11 ระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
แนวทางการดำเนินงาน การประชุมทีม SRRT เครือข่ายระดับตำบล รพ.สต./อบต./อสม. /ผู้นำชุมชน/ ประชาชน

12 ระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
แนวทางการดำเนินงาน มีเครือข่ายการฝ้าระวัง สอบสวนโรค เพื่อประโยชน์ ในการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ มีการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคร่วมกัน รพ.สต./อบต./อสม. /ผู้นำชุมชน/ ประชาชน

13 ด้วยความจริงใจ ขอขอบคุณ
สวัสดีครับ


ดาวน์โหลด ppt คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google