งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
บทปฏิบัติการ การฝึกอบรม การประเมินมูลค่าความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมบางประการหลังการทำลายป่าไม้ โสภา ศิริไพพรรณ ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

2 ข้อมูลพืช อุปกรณ์ 1. เทปวัด 2. เชือก
บทปฏิบัติการ การฝึกอบรม การประเมินมูลค่าความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมบางประการหลังการทำลายป่าไม้ ข้อมูลพืช อุปกรณ์ 1. เทปวัด 2. เชือก 3. เครื่องมือวัดความสูงต้นไม้ เช่น Pole, Haga ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ

3

4 บทปฏิบัติการ การฝึกอบรม
การประเมินมูลค่าความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมบางประการหลังการทำลายป่าไม้ วิธีการ 1. คัดเลือกพื้นที่ป่าไม้ตัวแทนที่ใกล้เคียงพื้นที่ป่าที่ถูกทำลาย 2. วางแปลงขนาด 20 x 40 ตารางเมตร ในพื้นที่ป่าไม้ตัวแทน จำนวน 1 แปลง 3. ในแปลงตัวแทนต้นไม้ที่มีขนาดเส้นรอบวงลำต้นมากกว่า เซนติเมตร ที่ระดับความสูง จากผิวดิน 1.30 เมตร ให้วัดขนาดเส้นรอบวงลำต้นที่ระดับความสูงจากผิวดิน เมตร และความสูงของต้นไม้ แล้วจดบันทึกไว้ ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ

5 แปลงตัวแทน 20 เมตร 40 เมตร พื้นที่บุกรุก พื้นที่ป่า

6 วิธีการ(ต่อ) 4. คำนวณหาพื้นที่หน้าตัดลำต้น (ตารางเซนติเมตร)
พื้นที่หน้าตัดลำต้น = (เส้นรอบวงลำต้น)2 5. คำนวณความสูงเฉลี่ยของต้นไม้ (เมตร) ความสูงเฉลี่ยของต้นไม้ = ผลรวมความสูงของต้นไม้ทั้งหมด/จำนวนต้นไม้ ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ

7 คำนวณหาพื้นที่หน้าตัดลำต้น (ตร.ซม.)
ตารางการคำนวณหาผลรวมพื้นที่หน้าตัดลำต้น และความสูงโดยเฉลี่ยของต้นไม้ (1) ลำดับที่ต้นไม้ (2) เส้นรอบวงลำต้นที่ ระดับ 1.30 เมตร (ซม.) (3) คำนวณหาพื้นที่หน้าตัดลำต้น (ตร.ซม.) (3) = (2)2 (4) ความสูงของต้นไม้ (เมตร) 1 X1 Y1 Z1 2 X2 Y2 Z2 3 . X3 Y3 Z3 n Xn Yn Zn รวม/เฉลี่ย Y [Z]/n

8

9 อุปกรณ์ . ขวดใสทรงตรงมีฝาปิด . ไม้บรรทัด . พลั่วมือ
ข้อมูลดิน อุปกรณ์ . ขวดใสทรงตรงมีฝาปิด . ไม้บรรทัด . พลั่วมือ ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ

10 เนื้อดิน อนุภาคทราย (sand) 0.02 – 2 mm
สัดส่วนสัมพัทธ์ของอนุภาคที่เป็นของแข็งในดินที่มีขนาดไม่เกิน 2 มิลลิเมตร กรวด เศษซากพืช อนุภาคทราย (sand) – 2 mm อนุภาคทรายแป้ง (silt) – 0.02 mm อนุภาคดินเหนียว (clay) < mm 100 %

11 ในแปลงป่าธรรมชาติ และพื้นที่ที่ถูกทำลาย
15 cm ในแต่ละแปลง เก็บดินอย่างน้อย 7 จุด ผสมรวมเป็น 1 ตัวอย่างตัวแทนของพื้นที่

12 แล้วแยกกรวดและเศษซากพืชออก ใส่ลงในขวดเติมน้ำประมาณ 2/3 ของขวด
ผึ่งให้แห้ง นำดินมาประมาณ 1 พลั่ว บด แล้วแยกกรวดและเศษซากพืชออก ดินตัวอย่าง ใส่ลงในขวดเติมน้ำประมาณ 2/3 ของขวด ทิ้งไว้ให้ตกตะกอน 1-2 วัน เขย่า

13 วัดความสูงของชั้นต่าง ๆ
ดินเหนียว ทรายแป้ง วัดความสูงทั้งหมด ทราย

14

15 ข้อมูลลักษณะพื้นที่ที่ถูกทำลาย
อุปกรณ์ 1.สายยาง 2.เทปวัดระยะ ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ

16 ข้อมูลลักษณะพื้นที่ที่ถูกทำลาย
1. วัดขนาดพื้นที่ที่ถูกทำลาย มีหน่วยเป็นไร่ 2. วัดค่าความยาวของด้านลาดเท มีหน่วยเป็นเมตร 3. วัดค่าความลาดชันของพื้นที่ ดังนี้ 3.1  กำหนดจุด A และ B ที่มีความสูงแตกต่างกัน 3.2  ใช้สายยางบรรจุน้ำ ขึงให้น้ำอยู่ระดับเดียวกันจากจุด A และ B 3.3  วัดระยะทางจาก A ถึง B หน่วยเป็นเมตร (Y) 3.4  วัดระยะทางจาก A ถึง C หน่วยเป็นเมตร (X) 3.5  คำนวณค่าความลาดชัน ค่าความลาดชันเฉลี่ย(%) = (X100)/Y ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ

17 A ความยาวด้านลาดชัน B ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ

18 การวัดค่าความยาวด้านลาดเท

19 วิธีการเก็บวัดค่าความลาดชันโดยเฉลี่ยของพื้นที่
Y ใช้สายยางวัดระดับน้ำให้จุด A และจุด B อยู่ในระดับเดียวกัน A B X ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ C

20

21 The End ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ


ดาวน์โหลด ppt ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google