งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวคิดการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2556

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวคิดการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2556"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวคิดการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2556
PRESENTATION NAME แนวคิดการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2556 การประชุมประสานแผนและแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ธันวาคม 2555

2 แนวคิดการดำเนินการแบบบูรณาการ
ความหมาย “การดำเนินการแบบบูรณาการ” “การรวมกันทำหน้าที่อย่างกลมกลืนเป็นหนึ่งเดียวของโครงสร้างองค์กร กลยุทธ์ การจัดสรรทรัพยากร และกระบวนการตรวจและประเมินสมรรถนะ” ; โดย Institution of Occupational Safety and Health: IOSH)

3 แนวคิดการบริหารแบบบูรณาการ
ประโยชน์ที่ได้รับ   ลดขั้นตอนในการประสานงานขอความร่วมมือ ดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ได้อย่างมีปสภ.และรวดเร็วขึ้น   สามารถแก้ไขปัญหาเร่งด่วนได้ทันที   พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้เกิดประโยชน์กับองค์กร   สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพทั้งในแง่ คน เงิน ของ และเวลา ลดความสูญเปล่า ซ้ำซ้อน ในกระบวนการ

4 โมเดล 3 มิติ 3 ระดับ มิติทีม/เครือข่าย/ชุมชนที่ทำงานทำงานด้วย
3 มิติ คือ มิติตัวฉัน มิติทีม/เครือข่าย/ชุมชนที่ทำงานทำงานด้วย มิติเนื้องาน วิสัยทัศน์ เป้าหมาย ผลลัพธ์ ผลผลิต ของงานนั้น ๆ 3 ระดับ คือ พื้นฐาน กระบวนการและโครงสร้าง ผลลัพธ์/ผลผลิตที่เกิดขึ้น

5 การบูรณาการงานภายในองค์กร

6 การบูรณาการงานภายในของศอ.5 ปี 2556

7 การประชุมบูรณาการแผนงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย MCH SCH OBE AGE ENV MIS 1. จนท.ศอ.5 2. ศูนย์เรียนรู้ในองค์กร 3. รพ.ในสังกัด สป. 4. หน่วยงานในกสธ. (สสจ.) 5. อปท./หน่วยงานนอกกสธ./ชุมชน 6. ร.ร./ศดล.

8 แนวคิดประกอบการพิจารณา
ท่านสามารถบูรณาการในเรื่องต่อไปนี้ได้หรือไม่ เช่น บุคลากรศูนย์ที่จะใช้ในกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายที่จะไปดำเนินการ กิจกรรมที่จะไปดำเนินการ เช่น ผนวกรวมกันเป็นแผนงานใหญ่/หลักสูตรรวม เป็นต้น ช่วงเวลา / งบประมาณในการดำเนินงาน

9 ผลลัพธ์การบูรณาการ (ส่วนที่เกี่ยวกับเครือข่าย)
ผลลัพธ์การบูรณาการ (ส่วนที่เกี่ยวกับเครือข่าย)

10 ผลลัพธ์ในส่วนที่เกี่ยวกับเครือข่าย
1. Setting โรงพยาบาล ผลลัพธ์ในส่วนที่เกี่ยวกับเครือข่าย แนวคิดการบูรณาการ : เกณฑ์ อปก. HPH+ เป็นหลัก การบูรณาการงาน องค์ประกอบที่บูรณาการกับ HPH 1 2 3 4 5 6 7 1. รพ.สายใยรัก / 2. DPAC 3. รพ.สส.โภช 4. YFHS 5. รพ.ลดโลกร้อน 6. หมู่บ้านลดหวานมันเค็ม 7. องค์กรไร้พุง (รพ./หน่วยงาน) 8. รพ.ส่งเสริมสุขภาพ (HPH+)

11 1. Setting โรงพยาบาล (ต่อ)
การประเมิน : คณะกรรมการไม่เกิน 11 คน การบูรณาการงานที่เกี่ยวข้อง จน.คณะกก. (คน) 1. รพ.สายใยรัก 4 คน 2. DPAC + องค์กรไร้พุง 1 คน 3. รพ.สส.โภช 4. YFHS 1 คน 5. รพ.ลดโลกร้อน 6. รพ.ส่งเสริมสุขภาพ (HPH+) + หวานมันเค็ม 2 คน 7. ประธาน รวม 11 คน

12 1. Setting โรงพยาบาล (ต่อ)
(ร่าง) กลุ่มเป้าหมาย จังหวัด HPH MCH YFHS DPAC ไร้พุง รพ.โภช โลกร้อน บร. บุรีรัมย์ / 2. นางรอง 3. พุทไธสง 4. สตึก 5. แคนดง 6. คูเมือง 7. นาโพธิ์ 8. ปะคำ

13 1. Setting โรงพยาบาล (ต่อ)
(ร่าง) กลุ่มเป้าหมาย จังหวัด HPH MCH YFHS DPAC ไร้พุง รพ.โภช โลกร้อน บร. 9. บ้านใหม่ฯ / 10. ชำนิ 11. โนนสุวรรณ 12. โนนดินแดง 13. เฉลิมพระเกียรติ

14 1. Setting โรงพยาบาล (ต่อ)
(ร่าง) กลุ่มเป้าหมาย จังหวัด HPH MCH YFHS DPAC ไร้พุง รพ.โภช โลกร้อน ชย. บำเหน็จ / 2. จัตุรัส 3. หนองบัวแดง 4. บ้านแท่น 5. คอนสวรรค์ 6. เทพสถิต 7. ภักดีชุมพล 8. เนินสง่า

15 1. Setting โรงพยาบาล (ต่อ)
จังหวัด HPH MCH YFHS DPAC ไร้พุง รพ.โภช โลกร้อน สร. รัตนบุรี / ศรีขรภูมิ ท่าตูม กาบเชิง ชุมพลบุรี สนม จอมพระ บัวเชด สังขะ 10. สำโรงทาบ

16 1. Setting โรงพยาบาล (ต่อ)
(ร่าง) กลุ่มเป้าหมาย จังหวัด HPH MCH YFHS DPAC ไร้พุง รพ.โภช โลกร้อน นม. สูงเนิน / 2. ครบุรี 3. โนนแดง 4. บัวใหญ่ 5. เฉลิมพระเกียรติ

17 การบูรณาการงานที่เกี่ยวข้อง
2. Setting ชุมชน/รพ.สต. รูปแบบการประเมิน : คณะกรรมการไม่เกิน 7 คน การบูรณาการงานที่เกี่ยวข้อง คณะกก.จำนวน : คน 1. ตำบลนมแม่ + รพ.สต.สายใย 3 คน 2. DPAC รพ.สต. 1 คน 3. Long term care 4. หมู่บ้านไอโอดีน 1 คน 5. ประธาน รวม 7 คน

18 2. Setting ชุมชน/รพ.สต. (ต่อ)
(ร่าง)การบูรณาการกลุ่มเป้าหมาย จังหวัด พื้นที่ ต.นมแม่ รพ.สต.สายใย DPAC LTC ม.ไอโอดีน นม. ด่านช้าง (บัวใหญ่) ผ่านแล้ว / นกออก (ปักธงชัย) ชย. ท่ากูบ (ซับใหญ่) สร. บ้านผือ (จอมพระ) บร. หายโศก (พุทไธสง)

19 3. Setting สสจ. การชี้แจงการดำเนินงานด้านสส.และสล. ประจำปีแก่เครือข่ายจังหวัด

20 การบูรณาการงานภายนอก : ศูนย์วิชาการ

21 ตำบลสุขภาพดี หมายถึง ตำบลที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลทันสถานการณ์ โดยวัดจากเกณฑ์คุณลักษณะตำบลสุขภาพดี 5 ด้าน

22 “ตำบลสุขภาพดีนครชัยบุรินทร์”ปี 2556
เสริมสร้างพลังความเข้มแข็งภาคี สื่อสารสาธารณะ/จัดการความรู้ ภาคี รพ.สต. รร. อบต. เทศบาล วัด ชมรม คลังสมอง สสจ./สสอ. 5ศูนย์วิชาการ(สคร./ศูนย์สชภาค/ศูนย์วิทย์ฯ/ศูนย์สุขภาพ จิต/ศูนย์อนามัย) สปสช. สสจ./ สสอ. ติดตาม/กำกับ/ตรวจสอบ ประ ชา ชน ทุก กลุ่มวัย มี สุข ภาพ ดี กระบวนการพัฒนา มีภาคีเครือข่ายในการ ดำเนินงานส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันควบคุม โรคและภัยสุขภาพ มีการระดม ทรัพยากรในการ ดำเนินงานส่งเสริม สุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ มีการจัดทำแผนงาน โครงการและประเมินผล การดำเนินงานส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันควบคุม โรคและภัยสุขภาพ มีการจัดการข้อมูล เพื่อใช้ในการ ดำเนินงานส่งเสริม สุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ผลลัพธ์ แม่และเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน ชุมชนสุขภาพดี สูงอายุ สื่อสารสาธารณะ/การจัดการความรู้

23 เกณฑ์คุณลักษณะ “ตำบลสุขภาพดี” 5 ด้าน
ลำดับที่ ประเด็นการประเมิน คะแนน 1 มีภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 5 2. มีการจัดการข้อมูลเพื่อใช้ในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3. มีการจัดทำแผนงานโครงการและประเมินผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 4. มีการระดมทรัพยากรในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 5. มีผลสำเร็จจากการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุม โรคและภัยสุขภาพ 30 รวม 50 ตำบล ต้องได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 (40 คะแนน) จึงถือว่าเป็นตำบลที่ผ่านฯ ตำบลสุขภาพดี)

24 เกณฑ์การประเมิน gd ตำบลที่ผ่านเกณฑ์ฯ ต้องได้คะแนนรวม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 คือ ได้คะแนนไม่ต่ำกว่า 40 คะแนน จากคะแนนเต็ม 50 คะแนน สูตรการคำนวณ: จำนวนตำบลเป้าหมายที่ผ่านเกณฑ์คุณลักษณะฯ เท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 80 x 100 จำนวนตำบลทั้งหมด (แห่ง) เป้าหมายความสำเร็จ : ร้อยละ 20 ของตำบลทั้งหมดในพื้นที่สธ.เขต 14 แหล่งข้อมูล : สสจ./สสอ./รพสต. วิธีจัดเก็บข้อมูล : สสอ.ส่งแบบรายงานตามตัวชี้วัดโดยแนบ file ส่งมาที่สสจ. ภายในวันที่ 10 มีนาคม 2556 ความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล : ปีละ 1 ครั้ง

25 ภาพการบูรณาการร่วมของสปสช.
เกณฑ์ศักยภาพ บริการปฐมภูมิ ปี 2556 (สปสช.) นำเสนอ ศูนย์วิชาการเขต วันที่ 3 ธค.55

26 กรอบการบริหารงบพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ปี 2556 เขตนครชัยบุรินทร์
งบจ่ายตามเกณฑ์บริการปฐมภูมิ 175,015,426 บาท (34 บ./ปชก.) งบ PP Quality Performance (25.00 บ./คน) 1) ตามเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ 152,055,521 บาท(30 บ./ปชก. ) 2) พัฒนาศักยภาพการจัดบริการปฐมภูมิ 22,959,905 บาท (4 บ/ปชก.) เกณฑ์ P&P เกณฑ์ประเทศ+เกณฑ์พื้นที่ (เชิงโครงสร้าง+ผลสัมฤทธิ์) -ยุทธฯ สปสช.,ยุทธฯเขตนครชัยบุรินทร์, ยุทธฯFM,service plan -Node ปฐมภูมิ ,SMART Health ร่างตัวชี้วัดปฐมภูมิเขตนครชัยบุรินทร์ 3 need : Policy,Stakeholders,Business เกณฑ์ (กิจกรรม) โครงการ คณะ กก. สปสช.เขต คณะ กก.ระดับเขต /Node ปฐมภูมิ บูรณาการตัวชี้วัดปฐมภูมิ เขตนครชัยบุรินทร์ อปสข. Ref:

27 ลดอัตราป่วย/อัตราตาย
(ร่าง)ตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพ P&P ปี 2556 มิติ/วัย ตัวชี้วัด ระดับทีวัด ลดอัตราป่วย/อัตราตาย 1.อัตราการเกิดโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียรายใหม่ CUP 2.อัตราการป่วยเบาหวานรายใหม่ 3.อัตราการป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ แม่และเด็ก 4.ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก อายุครรภ์ก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ 5.อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม 6.อัตราการตั้งครรภ์ของแม่อายุต่ำกว่า 20 ปี PCU 7.ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการสมวัย วัยเรียน 8.ร้อยละของเด็ก 6-12 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน วัยสูงอายุ 9.จำนวนประชาชนอายุ 60 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองความ ซึมเศร้า (ดูแล)

28 กรอบเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ ปี 2556 เขตนครชัยบุรินทร์
มิติ ตัวชี้วัดระดับ CUP คะแนน ตัวชี้วัดระดับ PCU โครงสร้าง 11 คะแนน ผลการประเมินขึ้นทะเบียนในระบบ UC ปี 2556 1. ผ่าน/ผ่านมีเงื่อนไข ตามเกณฑ์ขึ้นทะเบียน UC ปี 2556* 1. ผ่าน/ผ่านมีเงื่อนไข ตามเกณฑ์ขึ้นทะเบียน* 2. หน่วยบริการปฐมภูมิที่ตั้งอยู่ใน รพ. มีคุณสมบัติตามเกณฑ์* 1.ร้อยละ PCU ผ่าน/ผ่านมีเงื่อนไข ตามเกณฑ์ขึ้นทะเบียน 3 3. มีบุคลากรตามเกณฑ์ 2.ร้อยละ PCU ผ่านเกณฑ์/ผ่านมีเงื่อนไข ตามเกณฑ์ขึ้นทะเบียน หมวด 5 (ข้อ ม.5.7 แผนไทย)และมีนักการแพทย์แผนไทย หรือ ผช.แพทย์แผนไทย 2 3.1 สัดส่วน จนท.สธ.(นสค) 1: ≤1,250* 3.2 สัดส่วนพยาบาลวิชาชีพ 1: ≤5,000* 3.3 มีพยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไป (NP) อย่างน้อยแห่งละ 1 คน* 1. มีแพทย์ดูแลรับผิดชอบ (สัดส่วนตามเกณฑ์ขึ้นทะเบียน) 6 จัดบริการ 9 คะแนน 3. มีนักกายภาพบำบัด จัดบริการฟื้นฟูเชิงรุกร่วมกับทีมสหวิชาชีพใน PCU 2. ร้อยละของผู้ป่วย Stroke ในชุมชน ได้รับการดูแลสุขภาพที่บ้าน บริหารจัดการ/การจัดบริการ 15 คะแนน 4. การบริหารจัดการเครือข่ายบริการปฐมภูมิ โดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม และมีระบบสนับสนุนเครือข่ายจัดบริการที่มีคุณภาพ ด้วยกระบวน การพัฒนาตามเกณฑ์ PCA (Primary care Award) 7 3. มีระบบสนับสนุนและกลไกการบริหารจัดการงานปฐมภูมิ ในระดับตำบลที่มีประสิทธิภาพ โดยภาคีมีส่วนร่วม ตามเกณฑ์ "ตำบลสุขภาพดี" คุณลักษณะ ที่ 1-4 8 ผลผลิต/ผลลัพธ์ 35 คะแนน 5.ร้อยละของผู้ป่วย DM ที่ รพ.แม่ข่ายลดลง 5 4. สัดส่วนการใช้บริการที่ PCU ต่อ รพ.แม่ข่าย(OP visit) 6.ร้อยละของผู้ป่วย HT ที่ รพ.แม่ข่ายลดลง 5.จำนวนผู้ป่วย Stroke ใน PCU 7.ร้อยละของผู้ป่วย DM ได้รับการตรวจจอประสาทตา  5 6.ร้อยละ ปชช.อายุ 35 ปีขึ้นไป ได้คัดกรอง DM/HT 7.ร้อยละของผู้ป่วย DM ได้รับตรวจเท้า 70 คะแนน น้ำหนักคะแนนรวม 30 40

29 เกณฑ์ตำบลสุขภาพดี เขตนครชัยบุรินทร์ ปี 2556 (บูรณาการศูนย์วิชาการ)
เกณฑ์ตำบลสุขภาพดี เขตนครชัยบุรินทร์ ปี 2556 (บูรณาการศูนย์วิชาการ) ลำดับที่ ประเด็นการประเมิน คะแนน 1 มีภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 5 2. มีการจัดการข้อมูลเพื่อใช้ในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3. มีการจัดทำแผนงานโครงการและประเมินผลการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 4. มีการระดมทรัพยากรในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 5. มีผลสำเร็จจากการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 30 รวม 50

30 กรอบระยะเวลาการดำเนินงาน เกณฑ์ศักยภาพ สปสช. ปี 2556
กรอบระยะเวลาการดำเนินงาน เกณฑ์ศักยภาพ สปสช. ปี 2556 1.กำหนดเกณฑ์ 2.ประกาศเกณฑ์ 4. ส่งผลประเมิน 5. สรุปคำนวณงบ 7. โอนงบ พย. ธค. มค. กพ. มีค. เมย. พค. 6.Audit 3.ประเมินตามเกณฑ์ 8.Post Audit สค.

31 กรอบระยะเวลาการดำเนินงาน “ตำบลสุขภาพดี”
กำหนดเกณฑ์ร่วมกัน Try out เกณฑ์ Final เกณฑ์ ผลิตคู่มือ MOU ผู้บริหาร ส่งเกณฑ์คู่มือ ชี้แจงอำเภอ/จังหวัด/เขตในเวทีประชุมประจำเดือน /เวที Node ปฐมภูมิ ประเมินตนเองส่งอำเภอ จังหวัดส่งผลประเมินศูนย์วิชาการ จังหวัดนิเทศพื้นที่ ประชุมทีมประเมิน ประมวล ผล ศูนย์วิชาการสุ่มประเมินโซนละ 1 ตำบล พย. ธค. มค. กพ. มีค. พค. มิย. กค.สค สรุปนำเสนอ สื่อสารสาธารณะ ลปรร.ต้นแบบ สค.กย. เวทีนวตกรรมPCU กย.

32 ขอบคุณคะ


ดาวน์โหลด ppt แนวคิดการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2556

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google