ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การดูแลผู้ป่วยได้รับสารพิษเบื้องต้น
พญ.ภัทรา เจริญทรัพย์ รพ.ศ.ขอนแก่น
2
การดูแลผู้ป่วยได้รับสารพิษเบื้องต้น
1. การช่วยชีวิตเบื้องต้น (Basic life support) 2. การประเมินสภาพผู้ป่วย (Patient evaluation) 3. การดูแลรักษาเบื้องต้น (Early management) 4. การดูแลรักษาตามอาการและประคับประคอง (Symptomatic and supportive care) 5. การดูแลรักษาสารพิษเฉพาะ (Management of specific intoxication)
3
1. การช่วยชีวิตเบื้องต้น (Basic life support)
1. Airwayประเมินดูว่าผู้ป่วยมีปัญหาการอุดตันทางเดินหายใจ หรือไม่ 2. Breathing ต้องมีการประเมินการหายใจของผู้ป่วยว่าเพียงพอหรือไม่ 3. Circulation ต้องมีการวัดความดันโลหิต วัดอัตราการเต้นของชีพจร 4. Drug-induced central nervous system depression เป็นการประเมินความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
4
Glasgow coma score
5
2. การประเมินสภาพผู้ป่วย (Patient evaluation)
1. Who? ผู้ป่วยเป็นใคร อายุอาชีพ เจ็บป่วย ใช้ยาอะไรบ้างเป็นประจำ 2. What? สารพิษคืออะไร 3. When? ผู้ป่วยได้รับสารพิษเมื่อไหร่ 4. Where? สถานที่ที่พบผู้ป่วย5. How? ปริมาณสารพิษที่ผู้ป่วยได้รับมีปริมาณเท่าไร
6
6. Why? สาเหตุของการได้รับสารพิษหรือยาที่เกินขนาด
6.1) อุบัติเหตุ 6.2) ตั้งใจ 6.3) เป็นความผิดพลาดของการรักษา 6.4) ผู้ป่วยใช้สารเสพติด
7
การตรวจร่างกาย ต้องตรวจร่างกายให้ครบทุกระบบ และต้องนำผลการตรวจที่ปกติและผิดปกติมาร่วมประมวล Toxic syndromes 1 Sympathetic syndrome 2 Cholinergic syndrome 3 Anticholinergic syndrome 4 Opiate syndrome
8
1. Sympathetic syndrome สารพิษที่ออกฤทธิ์กระตุ้นระบบ
ผู้ป่วยมาด้วยสับสน, ความดันโลหิตสูง,หัวใจเต้นเร็ว,ไข้, ม่านตาขยาย, การเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง, เหงื่อออกมาก, hyperreflexia สารพิษหรือยาที่ทำให้เกิดอาการดังกล่าวได้แก่ amphetamine, caffeine, theophylline, ยาในกลุ่ม decongestants เป็นต้น
9
2. Cholinergic syndrome ม่านตาขยาย หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง หลอดลมขยายตัว การเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง, กล้ามเนื้ออ่อนแรง,ม่านตาหรี่ หัวใจเต้นช้าลง ความดันโลหิตต่ำ หลอดลมหดตัว การเคลื่อนไหวของลำไส้เพิ่มขึ้น ถ่ายเหลว คลื่นไส้อาเจียน ระบบประสาทส่วนกลางทำให้ผู้ป่วยมาด้วยอาการ ตื่นกลัว สับสน กระวนกระวาย (agitation) ซึมลง ไม่รู้สึกตัว ชัก สารพิษที่ทำให้เกิดกลุ่มอาการที่กล่าวมาข้างต้น เช่น ยาฆ่าแมลงในกลุ่ม organophosphate และ carbamate
10
3. Anticholinergic syndrome
อาการ ผิวแห้ง ตัวแดง ไข้สูง ปากแห้งคอแห้ง ม่านตาขยาย หัวใจเต้นเร็ว ปัสสาวะไม่ออก สับสน เห็นภาพหลอน ยาที่ทำให้เกิดอาการดังกล่าวได้แก่ ยาในกลุ่ม antihistamines, tricyclicantidepressants, antipsychotics, atropine
11
4. Opiates syndrome อาการ ม่านตาเล็ก
หายใจช้า หัวใจเต้นช้า ซึมลง ท้องผูก การเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง มีร่องรอยการใช้ฉีดสารเสพติดเข้าที่แขนพับ สารพิษที่ทำให้เกิดอาการดังกล่าวข้างต้นได้แก่ ยาในกลุ่ม morphine,ยานอนหลับ,ยากันชัก
12
3. การดูแลรักษาเบื้องต้น (Early management)
3.1 การลดการดูดซึมสารพิษ การกระตุ้นให้อาเจียน 3.1.2 การสวนล้างกระเพาะอาหาร การให้ผงถ่านกัมมันต์ครั้งเดียว (Single dose activated charcoal) 3.1.3 การให้ยาระบาย 3.1.4 การทำ Whole bowel irrigation (WBI)
13
สารพิษต่อไปนี้ห้ามทำการลดการดูดซึมสารพิษโดยวิธีล้างท้อง
1. กรดแก่หรือด่างแก่ 2. nontoxic ingestion เช่น detergen 3. low viscosity และ low toxicity hydrocarbons ได้แก่ ether, gasoline, kerosene, turpentive ส่วน halogenated hydrocarbon ควรรีบกำจัดออก
14
3.2 การเพิ่มการขับออกของสารพิษ 3.2.1 การให้ผงถ่านกัมมัมต์แบบซ้ำ ๆ
3.2.2 Alkalinized หรือ acidified urine 3.2.3 Hemodialysis หรือ hemoperfusion Activated charcoal
15
4. การดูแลรักษาตามอาการและประคับประคอง
5. การดูแลรักษาสารพิษเฉพาะ
16
มีคำถามมั้ยคะ
17
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.