งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

4. Research tool and quality testing

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "4. Research tool and quality testing"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 4. Research tool and quality testing
ศจีมาจ ณ วิเชียร

2 ประเภทของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง หรือเครื่องมือที่มี อยู่เดิม แบ่งเป็น - เครื่องมือหลักสำหรับเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ - เครื่องมือทดลอง ได้แก่ เครื่องชั่งน้ำหนัก โปรแกรม เครื่องช่วยสอนบทเรียนคอมพิวเตอร์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS Excel LISREL Company Logo

3 การสังเกต เหมาะกับการวิจัยเชิงบรรยาย/ทดลอง
แนวทางในการวิจัย การสังเกต เหมาะกับการวิจัยเชิงบรรยาย/ทดลอง ข้อดี – เก็บกับข้อมูลโดยตรงเหมาะสม กับบุคคลที่ไม่ค่อยมีเวลา การสัมภาษณ์ เป็นการหาข้อมูลจากการสนทนา อย่างมีความหมาย ข้อดี – ได้ข้อมูลละเอียด ลึกซึ้ง  การใช้แบบสอบถาม ไม่มีคำตอบถูกผิด สามารถตอบได้หลายประเด็น ข้อดี – เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายจำนวนมาก และ รักษาความลับของแต่ละบุคคลได้ Company Logo

4 ขั้นตอนการสร้างแบบสังเกต, แบบสัมภาษณ์, แบบสอบถาม
ขั้นตอนการสร้างแบบสังเกต, แบบสัมภาษณ์, แบบสอบถาม สร้างข้อคำถาม ผู้เชี่ยวชาญ (content validity) แก้ไข ปรับปรุง try out หา reliability (กรณี rating scale) ปรับปรุงข้อคำถาม นำไปใช้เก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างจริง Company Logo

5 แบบทดสอบ (Test) เครื่องมือวัดความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ สติปัญญา หรือความถนัดของผู้เข้าทดสอบ และให้ผลเป็นตัวเลข จำแนกเป็น 3 ประเภท แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (achievement test) แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพ (personality test) แบบทดสอบวัดความถนัด (aptitude test) Company Logo

6 การหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบถาม แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ เครื่องชั่งน้ำหนัก เครื่องมือวัดต่าง ๆ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ก่อนที่จะนำไปใช้เก็บข้อมูลจริง จะต้องผ่านการตรวจหาคุณภาพก่อน เพื่อให้แน่ใจว่าเป็น เครื่องมือที่มีคุณภาพ สามารถวัดในสิ่งที่ต้องการจะวัดได้ คุณภาพของเครื่องมือมี 5 องค์ประกอบ : 1. ความเที่ยงตรง (Validity) ความเชื่อมั่น (Reliability) ความยากง่าย (Difficulty) อำนาจจำแนก (Discrimination) ความเป็นปรนัย (Objectivity) Company Logo

7 ความเที่ยงตรง (Validity)
ความสอดคล้องหรือความเหมาะสมของผลการวัดกับเนื้อเรื่อง หรือเกณฑ์ หรือทฤษฎีที่เกี่ยวกับลักษณะที่มุ่งวัด จำแนกเป็น 4 ประเภท :  ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) ความสามารถในการวัดกลุ่มเนื้อหาที่ต้องการจะวัดได้ครอบคลุมและเป็นตัวแทนของสิ่งที่ต้องการวัด เช่น วัดความสามารถในการท่องศัพท์ วัดทักษะด้านต่าง ๆ Company Logo

8 Table of specification
สมรรถภาพการวิจัย (the uk GRAD programme, 2004 (online)) มิติ สมรรถภาพเรื่อง น้ำหนัก ความสำคัญ จำนวน ข้อคำถาม สมรรถภาพ การวิจัย 1. ทักษะและเทคนิควิจัย 25.0 6 2. ทักษะการหาทุน 7 3. การบริหารงานวิจัย 15.0 4 4. ทักษะสื่อสารสำหรับการวิจัย 20.0 5 5. การสร้างเครือข่ายและทีมวิจัย 3 รวม 100.0 25 Company Logo

9 Content validity มิติที่ นิยามเชิง โครงสร้าง ปฏิบัติการ ข้อคำถาม
ระดับความคิดเห็น ข้อ เสนอแนะ IOC สอดคล้อง/ เหมาะสม เฉย ๆ ไม่สอดคล้อง/ ไม่เหมาะสม 1.ด้านความคิด 1.1 ความเป็นผู้ ช่างสงสัย การไม่เชื่อสิ่งต่าง ๆ โดยง่าย ต้องมี หลักฐานหรือเหตุผล ประกอบจึงเชื่อ และ การพิจารณาสิ่ง ต่างๆ ด้วยเหตุผล 1. ท่านเป็นคนที่ ไม่เชื่อสิ่งใด ๆ โดยง่ายหาก ปราศจากข้อมูล ประกอบ 2. การที่ท่านจะ เชื่อในสิ่งใด ๆ ท่านจะพิจารณา โดยยึดความมี เหตุผลเป็นหลัก Company Logo

10 การหาความเที่ยงตรงตามเนื้อหา
ทำได้โดยการหาค่า IOC (Index of Item-Objective Congruence) จากผู้เชี่ยวชาญ R = ผลรวมคะแนนจากผู้เชี่ยวชาญ N = จำนวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด IOC  0.5 Company Logo

11 ความเที่ยงตรง (Validity) (ต่อ)
 ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity) : ความสามารถของเครื่องมือวัดได้ตรงตามลักษณะที่มุ่งวัดโดยผลการวัดมีความสอดคล้องกับโครงสร้าง/ทฤษฎี ของลักษณะที่มุ่งวัดนั้น จำแนกได้ 3 วิธี : 1. การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) หาความสัมพันธ์ของแบบทดสอบ 2 ชุดที่วัดในเรื่องเดียวกัน 2. เปรียบเทียบกับกลุ่มที่มีลักษณะต้องการวัด อย่างเด่นชัด (Know Group Technique) โดยใช้การเปรียบเทียบด้วย t-test 3. การวิเคราะห์องค์ประกอบ Company Logo

12 การวิเคราะห์องค์ประกอบ
Company Logo

13 ความเที่ยงตรง (Validity) (ต่อ)
 ความเที่ยงตรงตามสภาพ (Concurrent Validity) : ความสามารถในการวัดลักษณะที่สนใจได้ตรงตามสภาพของสิ่งนั้น เช่น ผู้ที่เรียนเก่งต้องทำแบบทดสอบได้สูงสุด การหาความเที่ยงตรงตามสภาพ การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้กับคะแนนที่วัดได้จากเครื่องมือมาตรฐานอื่นซึ่งสามารถวัดสิ่งนั้นได้ในสภาพปัจจุบัน Company Logo

14 ความเที่ยงตรง (Validity) (ต่อ)
 ความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ (Predictive Validity) : ความสามารถในการวัดลักษณะที่สนใจได้ตรงตามลักษณะของสิ่งนั้นที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การหาความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้กับคะแนนที่วัดได้จากเครื่องมือมาตรฐานอื่นซึ่งสามารถวัดสิ่งนั้นที่จะเกิดในอนาคต Company Logo

15 การหาความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง การหาความเที่ยงตรงตามสภาพ
การหาความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ โดยการหาความสัมพันธ์ ใช้สูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน rXY = สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ N = จำนวนคู่ของคะแนน X = คะแนนชุดที่ Y = คะแนนชุดที่ 2 Company Logo

16 ความเชื่อมั่น (Reliability)
ความคงที่หรือความคงเส้นคงวาของผลที่ได้จากการวัดซ้ำ วิธีการหาความเชื่อมั่น : การทดสอบซ้ำ (Test-Retest) 2. การใช้ข้อสอบเหมือนกัน (Equiv.-Form Reliability) การทดสอบแบบแบ่งครึ่ง (Spilt Half Reliability) การหาความคงที่ภายในโดยใช้สูตร KR-20, KR การทดสอบวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา Company Logo

17 ความเชื่อมั่น (Reliability) (ต่อ)
การทดสอบซ้ำ Test-Retest Reliability ความคงเส้นคงวาของคะแนนจากการวัดในช่วงเวลาที่ต่างกันโดยวิธีสอบซ้ำด้วยแบบทดสอบเดิม การหาค่าความเชื่อมั่น: การทดสอบซ้ำ ใช้การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้จากคนกลุ่มเดียวกันด้วยเครื่องมือเดียวกัน โดยทำการวัดสองครั้งในเวลาที่ต่างกัน Company Logo

18 ความเชื่อมั่น (Reliability) (ต่อ)
การทดสอบแบบใช้ข้อสอบเหมือนกัน Equivalent-Forms Reliability ความสอดคล้องกันของคะแนนจากการวัดในช่วงเวลาเดียวกันโดยใช้แบบทดสอบที่สมมูลกัน การหาค่าความเชื่อมั่น: การทดสอบแบบใช้ข้อสอบเหมือนกัน ใช้การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้จากคนกลุ่มเดียวกันด้วยเครื่องมือ 2 ฉบับที่ทัดเทียมกัน Company Logo

19 ความเชื่อมั่น (Reliability) (ต่อ)
การทดสอบแบบการทดสอบแบบแบ่งครึ่ง Split-Half Reliability เป็นการหาความเชื่อมั่นโดยการหาความคงที่ภายใน โดยใช้แบบทดสอบชุดเดียวและสอบครั้งเดียวแต่แบ่งข้อสอบเป็น 2 ส่วน คือ ข้อคู่ และข้อคี่ การหาค่าความเชื่อมั่น: การทดสอบแบบแบ่งครึ่ง ใช้การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่วัดได้จากการแบ่งครึ่งข้อสอบที่สมมูลกันโดยใช้สูตร Spearman Brown Company Logo

20 ความเชื่อมั่น (Reliability) (ต่อ)
การทดสอบโดยการหาความคงที่ภายใน Kuder-Richardson Reliability เป็นการหาความเชื่อมั่นโดยการทดสอบว่าแบบทดสอบหรือแบบสอบถามแต่ละข้อมีความสัมพันธ์กับข้ออื่น ๆ ในฉบับเดียวกันหรือไม่ การหาค่าความเชื่อมั่น: การคำนวณค่าสถิติของคะแนนรายข้อ (ให้คะแนนแบบ 0-1) และคะแนนรวมใช้สูตร Kuder-Richardson (KR-20, KR-21) Company Logo

21 ความเชื่อมั่น (Reliability) (ต่อ)
การทดสอบโดยวิธีหาสัมประสิทธิ์แอลฟ่า Alpha Coefficient Reliability เป็นการหาความเชื่อมั่นโดยการทดสอบว่าแบบทดสอบหรือแบบสอบถามแต่ละข้อมีความสัมพันธ์กับข้ออื่น ๆ ในฉบับเดียวกันหรือไม่ (คะแนนตั้งแต่ 0-...) การหาค่าความเชื่อมั่น: การคำนวณค่าสถิติของคะแนนรายข้อ และคะแนนรวมใช้สูตรคำนวณสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach) Company Logo

22 ความยากง่าย (Difficulty)
ระดับความยากง่ายของข้อสอบ หากผู้เรียนทำได้มาก แสดงว่าง่าย หากผู้เรียนทำได้น้อย แสดงว่ายาก ค่า P ที่ใช้ได้ก็คือ ค่า P ที่เหมาะสม คือ สูตรที่ใช้คือ P = ความยากง่าย R = จำนวนผู้เรียนที่ตอบคำถามข้อนั้นถูกต้อง N = จำนวนผู้เรียนทั้งหมด Company Logo

23 ค่าอำนาจจำแนก (Discrimination)
ความสามารถของแบบทดสอบ ในการจำแนกกลุ่มออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ เช่น เก่ง-อ่อน เห็นด้วย-ไม่เห็นด้วย เขียนแทนด้วย D มีค่าระหว่าง ถึง มีความหมายดังนี้ : D > .40 : ดีมาก D > : ดี D > : พอใช้ได้ D < .19 : ยังต้องปรับปรุง D ติดลบ : ใช้ไม่ได้ ต้องตัดทิ้ง Company Logo

24 การหาค่าอำนาจจำแนก การตรวจให้คะแนน
นำแบบทดสอบไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างแล้วตรวจให้คะแนน เรียงลำดับคะแนนจากสูงไปต่ำ คัดเลือกออกมา 1/3 จากกลุ่มสูงเป็นกลุ่มเก่ง คัดเลือก 1/3 จากกลุ่มล่างเป็นกลุ่มอ่อน แทนค่าในสูตร Ru = จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ถูกในกลุ่มเก่ง RL = จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ถูกในกลุ่มอ่อน N = จำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด Company Logo

25 การหาค่าอำนาจจำแนก การหาค่าสหสัมพันธ์ Point-Biserial Correlation
คำตอบถูกเป็น 1 และผิดเป็น 0 แล้วนำมาแทนค่าในสูตร = ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่ทำข้อสอบนั้นได้ = ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่ทำข้อสอบนั้นไม่ได้ = ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = สัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างที่ทำข้อสอบนั้นได้ = สัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างที่ทำข้อสอบนั้นไม่ได้ St p q Company Logo

26 การหาค่าอำนาจจำแนก การใช้ตารางสำเร็จรูปของจุงเตฟาน
นำแบบทดสอบไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างแล้วตรวจให้คะแนน เรียงลำดับคะแนนจากสูงไปต่ำ คัดเลือกออกมา 27% จากกลุ่มสูงเป็นกลุ่มเก่ง คัดเลือก 27%จากกลุ่มล่างเป็นกลุ่มอ่อน แทนค่าในสูตรการใช้สัดส่วน จากนั้นเปิดตารางสำเร็จรูปเพื่อหาค่าอำนาจจำแนก Company Logo

27 ความเป็นปรนัย (Objectivity)
ความชัดเจนของแบบทดสอบหรือคำถามที่ทุกคนเข้าใจตรงกัน รวมทั้งการตรวจให้คะแนนมีเกณฑ์ที่แน่นอน ความเป็นปรนัย มีองค์ประกอบ 3 ประการ : ความแจ่มชัดในความหมายของแบบทดสอบ ความแจ่มชัดในวิธีการตรวจให้คะแนน ความแจ่มชัดในการแปลความหมายของคะแนน การหาความเป็นปรนัยที่นิยมปฏิบัติกัน คือ ให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาและตรวจสอบ Company Logo


ดาวน์โหลด ppt 4. Research tool and quality testing

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google