ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยLawan Pisit-na ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง Factors Contributing to the successful Implementation of Technology Innovations by David C. Ensminger, Daniel W. Surry, Barry E. Porter and Dawn Wright
2
การวิเคราะห์งานวิจัย (ต่อ) University of South Alabama david@iphase
การวิเคราะห์งานวิจัย (ต่อ) University of South Alabama International Forum of Education Technology & Science (IFETS) (2004)
3
ABSTRACT รายงานนี้เกี่ยวกับผลการศึกษาเรื่อง เงื่อนไขที่ทำให้การแนะนำนวัตกรรมเทคโนโลยีไปใช้ได้สะดวก และประสบผลสำเร็จ ผู้ตอบแบบสอบถาม online 179 คน กำหนดเงื่อนไขสำคัญ 8 ประการที่มีความสัมพันธ์กัน ยังอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างและการทดสอบเครื่องมือ
4
ABSTRACT (ต่อ) การวัดค่า mean และ standard deviations จากตัวอย่างทั้งหมด โดยแบ่งตามเพศและกลุ่มอาชีพ การวิเคราะห์ปัจจัยที่ถูกนำมาใช้ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ 8 ประการ
5
Keywords Innovation Implementation Technology Change
6
Factors Contributing to the Successful Implementation of Technology Innovation
โมเดล ADDIE ประกอบด้วย Analysis, Design, Development, Implementation and Evaluation
7
การจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน
เปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วไปเข้ารับการฝึกอบรมอาชีพพัฒนาความรู้ และทักษะด้านอาชีพ องค์การภาครัฐในระดับกรมหรือเทียบเท่าที่มีภารกิจหลัก ได้แก่ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาชุมชน และกรมการศึกษานอกโรงเรียน เป็นต้น จากการวิจัย การจัดการศึกษาหรือฝึกอาชีพขององค์การภาครัฐ - มีความสำเร็จในเชิงปริมาณ แต่ไม่สามารถสรุปในเชิงคุณภาพ - ขาดการประเมิน มีเพียงการติดตามผล
8
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อพัฒนารูปแบบการประเมินผลขององค์การภาครัฐ ฯ เพื่อตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบที่พัฒนาขึ้นโดยผู้บริหารขององค์การและผู้บริหารองค์การระดับนโยบาย เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ เพื่อศึกษาลักษณะความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นระหว่างตัวแปรต่าง ๆ กับประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียนกับข้อมูลเชิงประจักษ์
9
ขอบเขตของการวิจัย ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ องค์การภาครัฐที่มีภารกิจหลักในการให้บริหารด้านการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จำนวน10 องค์การ ภารกิจที่ประเมิน ได้แก่ การฝึกอาชีพนอกระบบโรงเรียนซึ่งเน้นการฝึกอาชีพระยะสั้น สาขาช่วงอุตสาหกรรม
10
3. รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้น 3.1 ตัวแปรต้น จำนวน 8 ตัวแปร
- ระดับตัวองค์การ ได้แก่ ภาวะผู้นำองค์การ นโยบาย การบริหารองค์การ และกระบวนการบริหารองค์การ - ระดับกลุ่ม ได้แก่ ภาวะผู้นำกลุ่ม วัฒนธรรมกลุ่ม กระบวนการบริหารกลุ่ม - ระดับบุคคล ได้แก่ คุณลักษณะของบุคลากร และการปฏิบัติงานของบุคลากร
11
3.2 ตัวแปรตาม คือ ประสิทธิผลองค์การ
การบรรลุจุดมุ่งหมายตามภารกิจ ประสิทธิภาพ ผลการบริหารความเปลี่ยนแปลง ความพึงพอใจ
12
การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การฯ
สรุปผลการวิจัย การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การฯ ผลการพิจารณาของผู้บริหารเพื่อกำหนดค่าน้ำหนักของตัวแปรตามทั้ง 4 ตัว โดยเฉลี่ย ดังนี้ 1.1 การบรรลุจุดมุ่งหมาย 35% 1.2 ประสิทธิภาพ % 1.3 ผลการบริหารความเปลี่ยนแปลง 20% 1.4 ความพึงพอใจ %
13
2. ผลการประเมินประสิทธิผลองค์การพบว่า
1. กรมอาชีวศึกษา มีประสิทธิผลองค์การในระดับน้อย มีตัวชี้วัดที่ผ่านเกณฑ์ 9 ตัวชี้วัด และไม่ผ่านเกณฑ์ 6 ตัวชี้วัด 2. สำนักพัฒนาชุมชน กรุงเทพมหานคร มีประสิทธิผลองค์การในระดับปานกลาง มีตัวชี้วัดที่ผ่านเกณฑ์ 7 ตัวชี้วัด และไม่ผ่านเกณฑ์ 8 ตัวชี้วัด
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.