ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKhiew wan Suramongkol ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ผู้วิจัย นางสาวศิริรัตน์ สานุ ผู้นำเสนอ นายภากร แก้วแสน
การพัฒนาพฤติกรรมการควบคุมตนเองในการลดน้ำหนักของนิสิตปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาโดยการให้คำปรึกษากลุ่มตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริง ผู้วิจัย นางสาวศิริรัตน์ สานุ ผู้นำเสนอ นายภากร แก้วแสน
2
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
รายงานขององค์การอนามัยโลกปี พ.ศ ระบุว่า ประชากรโลก 1,600 ล้านคนน้ำหนักเกิน หรือไม่ก็เป็นโรคอ้วน ส่วนประเทศไทยก็มีสถิติโรคอ้วนเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งโรคอ้วนเสี่ยง ต่อการเป็นโรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคมะเร็งและโรคอื่นๆ อีก มากมาย การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริง เป็นวิธีหนึ่งที่สามารถพัฒนาพฤติกรรมการควบคุมตนเองใน การลดน้ำหนักได้ เพราะจะช่วยให้สมาชิกกลุ่มเข้าใจ ยอมรับ สภาพความเป็นจริงของตนเองมากขึ้น และจะพัฒนาพฤติกรรม การควบคุมตนเองในการลดน้ำหนักได้อย่างเหมาะสม
3
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาผลของการให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม ตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริงต่อพฤติกรรมการ ควบคุมตนเองในการลดน้ำหนักของนิสิตระดับ ปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการให้คำปรึกษา และกลุ่มที่ ไม่ได้รับการให้คำปรึกษาในระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล
4
วัตถุประสงค์ของการวิจัย (ต่อ)
2. เพื่อศึกษาผลของการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตาม แนวทฤษฎีเผชิญความจริงต่อพฤติกรรมการควบคุม ตนเองในการลดน้ำหนักของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ระหว่างกลุ่มที่ ได้รับการให้คำปรึกษาในระยะก่อนได้รับคำปรึกษา ระยะหลังการให้คำปรึกษาและระยะติดตามผล
5
วัตถุประสงค์ของการวิจัย (ต่อ)
3. เพื่อเปรียบเทียบผลของการให้คำปรึกษาแบบ กลุ่มตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริงต่อพฤติกรรมการ ควบคุมตนเองในการลดน้ำหนักของนิสิตชายกับนิสิต หญิงระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
6
สมมติฐานของการวิจัย 1. มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการทดลองกับระยะเวลา ของการทดลองและเพศ 2. นิสิตที่ได้รับการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามแนว ทฤษฎีเผชิญความจริงมีพฤติกรรมการควบคุมตนเองต่อ การลดน้ำหนักในระยะหลังการทดลองสูงกว่ากลุ่ม ควบคุม
7
สมมติฐานของการวิจัย (ต่อ)
3. นิสิตที่ได้รับการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามแนว ทฤษฎีเผชิญความจริงมีพฤติกรรมการควบคุมตนเอง ต่อการลดน้ำหนักในระยะติดตามผลสูงกว่ากลุ่ม ควบคุม 4. นิสิตที่ได้รับการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามแนว ทฤษฎีเผชิญความจริงมีพฤติกรรมการควบคุมตนเอง ต่อการลดน้ำหนักในระยะหลังการทดลองสูงกว่าใน ระยะก่อนทดลอง
8
สมมติฐานของการวิจัย (ต่อ)
5. นิสิตที่ได้รับการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามแนว ทฤษฎีเผชิญความจริงมีพฤติกรรมการควบคุมตนเอง ต่อการลดน้ำหนักในระยะติดตามผลสูงกว่าในระยะ ก่อนทดลอง 6. นิสิตชายที่ได้รับการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตาม แนวทฤษฎีเผชิญความจริงมีพฤติกรรมการควบคุม ตนเองต่อการลดน้ำหนักในระยะหลังการทดลอง และ ระยะติดตามผลสูงกว่ากลุ่มควบคุม
9
สมมติฐานของการวิจัย (ต่อ)
7. นิสิตหญิงที่ได้รับการให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม ตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริงมีพฤติกรรมการ ควบคุมตนเองต่อการลดน้ำหนักในระยะหลังการ ทดลอง และระยะติดตามผลสูงกว่ากลุ่มควบคุม 8. นิสิตชายและนิสิตหญิงที่ได้รับการให้คำปรึกษา แบกลุ่มตามแนวทฤษฎีเผชิญความจริงมีพฤติกรรม การควบคุมตนเองต่อการลดน้ำหนักแตกต่างกัน
10
กรอบแนวคิดในการวิจัย
11
นิยามศัพท์เฉพาะ 1. พฤติกรรมการควบคุมตนเองในการลดน้ำหนัก 2. โปรแกรมการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวทฤษฎี เผชิญความจริง 3. ผู้ที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน 4. นิสิตปริญญาตรี 5. วิธีปกติ
12
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐานในวัยรุ่น 2. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมกาควบคุมตนเอง 3. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามแนว ทฤษฎีเผชิญความจริง
13
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3. การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ 4. การดำเนินการทดลอง 5. วิธีการดำเนินการทดลอง 6. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล
14
ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.