งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 5 โสตศิลป์ : สุนทรียภาพในดนตรี.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 5 โสตศิลป์ : สุนทรียภาพในดนตรี."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 5 โสตศิลป์ : สุนทรียภาพในดนตรี

2 ความหมายของดนตรี ดนตรีคือ เสียงที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบียบ และมี แบบแผนโครงสร้าง เป็นรูปแบบของกิจกรรมเชิงศิลปะ ของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมา ในด้านระดับเสียง ( ซึ่งรวมถึงท่วงทำนองและเสียงประสาน ) จังหวะ และคุณภาพเสียง ( ความต่อเนื่องของเสียง พื้นผิวของเสียงความดังค่อย ) ดนตรีนั้นสามารถใช้ในด้านศิลปะหรือสุนทรียศาสตร์ การสื่อสาร ความบันเทิง รวมถึงใช้ในงานพิธีการต่างๆ

3 ที่มาของดนตรี คาดกันว่ายุคก่อนประวัติศาสตร์ มนุษย์ ในสมัยนั้นต้องอาศัยอยู่ในถ้ำ โดยยังไม่รู้ว่า ความสว่างและความมืดนั้น คือกลางวันและกลางคืน ยังไม่รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ และเป็นเรื่องธรรมดา ดังนั้นเพื่อเอาใจเทพเจ้าเขาจึงทำการวิงวอน ด้วยการเต้น การร้อง และรำ

4 ที่มาของดนตรี (ต่อ) เมื่อคนในยุคดังกล่าวต้องการ แสงแดด ลมหรือฝน เขาก็จะเรียกชนเผ่าของตน มาชุมนุมกันแล้วเต้นรำ บูชา พระอาทิตย์ บูชาลม หรือบูชาฝน ขณะที่เวลาผ่านไปหลายทศวรรษเขาก็ยังใช้การแสดงเหล่านี้ เสมือนเป็นการวอนขอต่อเทพเจ้า และกลายมาเป็น งานฉลองในศาสนาต่างๆ เช่น งานฉลองวันอิสเท่อร์ วันคริสต์มาส และพิธีการแห่ นางแมวขอฝนของไทยภาคอีสาน

5 ที่มาของดนตรี (ต่อ) นี่คือวิถีที่ดนตรี การเต้นรำ กวีนิพนธ์ จิตรกรรม และละครได้เกิดขึ้น เป็นสิ่งที่สืบเนื่องมาจาก การที่คนโบราณใช้เจรจาต่อพระเจ้า

6 กิจกรรม สร้างเครื่องดนตรีจากสิ่งใกล้ตัว เช่น
เมล็ดพืชต่างๆ หรือหิน บรรจุในกระป๋อง หรือวัสดุเหลือใช้ ตามความคิดสร้างสรรค์ ที่สามารถเป็น เครื่องดีด สี ตี กระทบหรือเป่าได้

7 อ้างอิง ประเสริฐ ศิลรัตน์. วิรุณ ตั้งเจริญ.
ความเข้าใจในศิลปะ, กรุงเทพฯ: O.S.พริ้นติ้งเฮ้า, 2525 วิรุณ ตั้งเจริญ. สุนทรียศาสตร์เพื่อชีวิต, กรุงเทพฯ: อีแอนด์ไอคิว, 2545


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 5 โสตศิลป์ : สุนทรียภาพในดนตรี.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google