ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กรอบแนวความคิดที่ 1 (First Paradigm)
เริ่มช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ภายหลังสงครามเกิดภัยพิบัติ/ หายนะ โดยเฉพาะยุโรป และแพร่หลายสู่ประเทศด้อยพัฒนาประมาณ นักทฤษฎีเสนอกรอบ “การพัฒนาเชิงเนื้อหาทางเทคนิค” (Technical matters) ที่มีการใช้วิเคราะห์ปัญหาสังคมด้อย พัฒนาต่างๆ ด้วยการประยุกต์ใช้:- - Neo-Classic Economic - American Social Science
2
-: Functional Approach :- เศรษฐกิจนำหน้าสังคม/การเมือง/วัฒนธรรม
เสนอตัวแบบเพื่อการวางแผนพัฒนา โดยเห็นว่า “ เศรษฐศาสตร์พัฒนาการ ” หรือ “ Development Economics ” เป็นศาสตร์/สาขาที่มีความก้าวหน้าสูง โดยลักษณะ เป็นศาสตร์เชิง “ปฏิฐาน” (Positive Science) ที่มีอิทธิพลต่อ การกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศต่าง ๆ โดยพิจารณา แนวการปฏิบัติงานเน้นดำเนินงานทางเศรษฐกิจลักษณะ -: Functional Approach :- เศรษฐกิจนำหน้าสังคม/การเมือง/วัฒนธรรม
3
แนวการพัฒนาตามกรอบแนวความคิดที่ 1
เริ่มปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 โครงการฟื้นฟูประเทศยุโรปตะวันออก (European Recovery Programme, ERP) เสนอตัวแบบเพื่อการวางแผนพัฒนา โดยเห็นว่าและ เจริญแผ่ขยายมายังประเทศด้อยพัฒนาช่วงปี ในรูป : ทฤษฎีภาวะทันสมัย ModernizationTheory
4
“การพัฒนาจะเกิดขึ้นต้องอาศัย ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ”
นักทฤษฏี/นักวิชาการ/นักปฏิบัติในกลุ่ม “ปฏิฐานนิยม/ สุขนิยม” (Positivists) เสนอ “การพัฒนาจะเกิดขึ้นต้องอาศัย ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ” อุปสรรค/ภาวะด้อยพัฒนาจะเกิดจากการ ขาดเงื่อนไข การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
5
กรอบแนวความคิดนี้อาจจะประยุกต์ใช้ได้กว้างขวาง
ประเด็นการพัฒนา : ขจัดเงื่อนไขอุปสรรค เศรษฐกิจเจริญ สังคมเจริญ กรอบแนวความคิดนี้อาจจะประยุกต์ใช้ได้กว้างขวาง ทั้งประเทศพัฒนาและประเทศด้อยพัฒนา ลักษณะแนวความคิด/ทฤษฎีกลไก (Technocratic Theory) : ใช้เป็นวิธีเชิงการปฏิบัติงาน
6
กรอบแนวความคิดที่ 2 (Second Paradigm)
มองการพัฒนาเชิงโต้ตอบ/การต่อต้าน 1 st Paradigm เริ่มขึ้นช่วงระยะเวลาใกล้เคียงกันทั้งในพื้นที่ยุโรปตะวันตก ลาตินและอเมริกา ประมาณต้นทศวรรษที่ 1960 (2503) โดยให้แยกการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาออกจาก -เศรษฐศาสตร์พัฒนา -สังคมวิทยาอเมริกัน
7
นักทฤษฎี/นักวิชาการกลุ่มนี้เรียกว่า แนวคิดก้าวหน้า
(The Radicals) โจมตีวิพากษ์ทฤษฎีภาวะทันสมัยว่า เป็น การมองปัญหาคับแคบ/ไม่ครอบคลุมถึงแก่นแท้ปัญหามาก พอสำหรับการพัฒนาประเทศต่างๆ Structuralism Approach
8
กรอบแนวความคิดที่ 3 (Third Paradigm)
เริ่มประมาณต้นศตวรรษที่ โดยกลุ่มนักทฤษฎี มาร์กซิสต์ (The Marxists) ที่เริ่มให้สนใจปัญหาการพัฒนา โลกที่ 3 การขยายตัวของระบบทุนนิยมโลกมีผลต่อภาวะความ สับสนและด้อยพัฒนาของประเทศด้อยพัฒนาทั่วไป
9
- วิถีการผลิต (Mode of Production)
แนวทางพิจารณาปัญหาสังคมด้อยพัฒนา - วิถีการผลิต (Mode of Production) - การดูดซับมูลค่าส่วนเกินทางเศรษฐกิจ (Economic Surplus) - การขัดแย้งทางชนชั้น (Social Class Conflict) การพัฒนา : ทุน (Capital) แรงงาน (Labour) ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้น (Social Class Relationship)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.