งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

01460443 การพัฒนาสังคม Social Development 1-2 : 18/25 พ.ย.54.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "01460443 การพัฒนาสังคม Social Development 1-2 : 18/25 พ.ย.54."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาสังคม Social Development 1-2 : 18/25 พ.ย.54

2 : E-mail : fmstss@src.ku.ac.th
หมู่ 800 วันศุกร์ เวลา น. ห้อง 17305 หมู่ 850 วันศุกร์ เวลา น. ห้อง 17305 อาจารย์เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ : โทร :

3 วัตถุประสงค์ของวิชา :
1. เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับความหมาย สาระสำคัญ แนวคิดและ ทฤษฎีการพัฒนาสังคม แนวคิดและทฤษฎีกระแสหลักต่างๆ ตั้งแต่อดีต ถึงปัจจุบัน 2. เพื่อให้นิสิตมีความเข้าใจภาวะการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม รวมทั้งการประยุกต์ใช้และผลการพัฒนาของตัวแบบ การพัฒนา ประเด็นทั้งทุนทางสังคม ภาคประชาสังคม และการมีส่วนร่วม การกีดกันทางสังคม โดยเฉพาะการพัฒนาที่ยั่งยืน ทิศทางและแนวทางการ พัฒนาต่างๆ 3. เพื่อให้นิสิตมีความสามารถในการวิเคราะห์ ศึกษา วิจัยทางการ พัฒนาสังคมเพื่อการกำหนดนโยบาย แผนงานและกลยุทธ์ในการพัฒนา สังคมของประเทศ

4 คำอธิบายรายวิชา (Course Description) :
ความเข้าใจภาพรวมในเรื่องการพัฒนาสังคม แนวคิดเชิงทฤษฎี เกี่ยวกับการพัฒนาสังคม ทฤษฎีความทันสมัย ทฤษฎีการพึ่งพา ทฤษฎี มากซ์ เสรีนิยมใหม่ สังคมนิยม โลกาภิวัตน์กับการพัฒนา แนวทางเชิง ปฏิบัติในการพัฒนาสังคม ทุนทางสังคม ประชาสังคม การกีดกันทาง สังคม การพัฒนาที่ยั่งยืน วิธีการวิจัยที่ใช้ในการศึกษาการพัฒนาสังคม การวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยการมีส่วนร่วม นโยบายการพัฒนาสังคมใน ประเทศไทย

5 คำอธิบายรายวิชา (Course Description) :
Understanding the overall view of social development, theoretical concepts in social development, modernization theory, dependency theory, marxism, neoliberalism, socialism , globalization and development. Social development in practice , social capital, civil society and social exclusion, sustainable development, research methods for social development. Participatory action research, social development policy in Thailand.

6 วิธีการสอนและระบบสอน :
1. การบรรยาย การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง/กลุ่ม 2. การรวบรวมผลการศึกษา วิเคราะห์ วิจารณ์ อภิปรายแบบมีส่วนร่วม 3. การจัดทำรายงานรายวิชา โดยฝึกทักษะการเรียบเรียง วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปผลและนำเสนอต่างๆ

7 การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน :
1. การมีส่วนร่วมและความสนใจในการเรียน โดยการ ร้อยละ 10 เข้าร่วมรับฟังคำบรรยายอย่างสม่ำเสมอและอภิปราย แลกเปลี่ยนประสบการณ์ 2. การทำรายงานและงานมอบหมายในชั้นเรียน ร้อยละ 25 3. การสอบกลางภาค ร้อยละ 30 4. การสอบปลายภาค ร้อยละ 35

8 การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน :
1. การมีส่วนร่วมและความสนใจในการเรียน โดยการ ร้อยละ 10 เข้าร่วมรับฟังคำบรรยายอย่างสม่ำเสมอและอภิปราย แลกเปลี่ยนประสบการณ์ 2. การทำรายงานและงานมอบหมายในชั้นเรียน ร้อยละ 25 3. การสอบกลางภาค ร้อยละ 30 4. การสอบปลายภาค ร้อยละ 35

9 การประเมินผลการเรียน :
ระดับคะแนนพิจารณาจากเกณฑ์คะแนน สูงกว่า คะแนน ระดับคะแนน A หรือ 4.0 คะแนน ระดับคะแนน B+หรือ 3.5 คะแนน ระดับคะแนน B หรือ 3.0 คะแนน ระดับคะแนน C+หรือ 2.5 คะแนน ระดับคะแนน C หรือ 2.0 คะแนน ระดับคะแนน D+หรือ 1.5 คะแนน ระดับคะแนน D หรือ 1.0 ต่ำกว่า 50.1 คะแนน ระดับคะแนน F หรือ 0.0

10 ข้อกำหนดในการเรียน : 1. นิสิตจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 36 ชั่วโมง 2. นิสิตที่แต่งกายไม่เรียบร้อยจะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าชั้นเรียน 3. นิสิตต้องไม่ส่งเสียงรบกวนในขณะสอนอันจะมีผลทำให้การ เรียนการสอนขาดคุณภาพ 4. นิสิตต้องเข้าร่วมและจัดทำรายงาน การทำงานตามที่มอบหมาย 5. นิสิตเข้าเรียนสาย 2 ครั้ง เท่ากับขาด 1 ครั้ง

11 ความหมาย “คุณภาพชีวิต (Quality of Life)”
มิติของคุณภาพชีวิต คุณภาพทางจิตใจ คุณภาพ ทาง จิตวิญญาณ คุณภาพทางสังคม คุณภาพทางกายภาพ

12 คุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิตทางกายภาพ
: ระดับความเป็นอยู่ประชาชนแง่วัตถุ สิ่งของ และสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ประกอบด้วย - ปัจจัย 4 : อาหาร ที่อยู่ เสื้อผ้าและยารักษาโรค - สิ่งก่อสร้างและการบริการขั้นพื้นฐาน : เส้นทางคมนาคม ระบบไฟฟ้า น้ำประปา สถานศึกษาและ สาธารณสุข สวนสาธารณะ ศูนย์กลางค้า สถานบริการและอื่นๆ - เครื่องมือ เครื่องใช้และอุปกรณ์ : สิ่งอำนวยความสะดวก ได้แก่ ยานพาหนะ โทรทัศน์ โทรศัพท์ เครื่องใช้และอื่นๆ

13 : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนไม่ใช่วัตถุ สิ่งของและสิ่งปลูกสร้าง
คุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิตทางจิตใจ : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนไม่ใช่วัตถุ สิ่งของและสิ่งปลูกสร้าง ความเชื่อมั่นใจ การพึ่งตนเอง การมีศักดิ์ศรี การเข้ามีส่วนร่วม ภาวะ จิตใจสงบสุข ผ่อนคลาย ไม่เครียด คล่องแคล่ว มีความเมตตา กรุณา มีสติ มีสมาธิ เป็นต้น คุณภาพชีวิตทางสังคม : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนที่มีการอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัว ชุมชน สังคมและโลกอย่างสงบและสันติภาพ รวมถึงการได้รับบริการ ทางสังคม หรือบริการจากรัฐที่ดี

14 : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนที่มีความสุขจากการมีจิตใจสูง รู้จัก
คุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิตทางจิตวิญญาณ : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนที่มีความสุขจากการมีจิตใจสูง รู้จัก เสียสละเข้าถึงความจริงทั้งหมด โดยลด ละเลิกความเห็นแก่ตัว มุ่งถึง ความดีสูงสุด/ภาวะคุณภาพชีวิตทางจิตวิญญาณ ซึ่งเป็นมิติทาง คุณค่าที่สูงสุดเหนือไปจากโลกหรือทางวัตถุ การมีศรัทธาและเข้าถึง คุณค่าที่สูงส่งทำให้เกิดความสุขอันประณีตลึกล้ำ

15 มนุษย์เป็นแกนกลางของการพัฒนา
ประเด็นพิจารณา มนุษย์เป็นแกนกลางของการพัฒนา เทคโนโลยี Technology สังคม Social มนุษย์ Human เศรษฐกิจ Economic สิ่งแวดล้อม Environment

16 3 เหลี่ยม โครงสร้างการแก้ปัญหา
สร้างความรู้ (K) เคลื่อนไหวทางสังคม (S) เชื่อมต่อกับการเมือง (P) 3 เหลี่ยม โครงสร้างการแก้ปัญหา

17 กรอบแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
“การพัฒนาที่มีดุลยภาพระหว่างมิติทางเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง เกื้อกูลกันเพื่อความอยู่ดีมีสุขของประชาชน ตลอดไป”

18

19 THAILAND

20 ทุนการพัฒนา ทุนธรรมชาติ (natural capital) ทุนทางสังคม ทุนมนุษย์
เทคโนโลยี เทคโนโลยี ทุนทางสังคม (Social capital) ทุนมนุษย์ (Human capital) ทุนทางเศรษฐกิจ (Economic capital) เทคโนโลยี เทคโนโลยี

21 การเปลี่ยนแปลงในบริบทของการพัฒนา
1 การเปลี่ยนแปลงในบริบทของการพัฒนา 1. การรวมตัวของเศรษฐกิจโลก 2. เทคโนโลยี 3. แนวโน้มประชากรและสังคม 4. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. พฤติกรรมการบริโภค

22 การรวมกลุ่มและความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก
การรวมตัวเศรษฐกิจระดับทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี และบทบาทเศรษฐกิจ ของเอเชียที่เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะจีน และอินเดีย ผลของความไม่สมดุลของเศรษฐกิจสหรัฐ ต่อค่าเงิน การรวมกลุ่มและความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก การเคลื่อนย้ายเงินทุนในโลกมีมากขึ้น Hedge Funds เก็งกำไรในเงินและราคาสินค้า จะมีกฎ ระเบียบ การกำกับตรวจสอบ และ ธรรมาภิบาลของสถาบันการเงินและธุรกิจ เอกชนที่เข้มงวดขึ้น เช่น Basel II, COSO2 เป็นต้น

23 เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร เทคโนโลยี เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุ นาโนเทคโนโลยี

24 ประชากร ประชากรและสังคม สุขภาพ ความปลอดภัยในสังคม วัฒนธรรมและค่านิยม

25 มาตรการการค้าไม่ใช่ภาษี
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ข้อผูกพันระดับโลก ปัจจัยการผลิต

26 การขยายตัวของความเป็นเมือง
โครงสร้างอายุ รูปแบบการบริโภค รายได้ การขยายตัวของความเป็นเมือง

27 หลักการพื้นฐานการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม
ฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืน Economic stability and sustainability เพิ่มมูลค่าผลผลิตด้วยฐานความรู้ Value creation from knowledge application Sustained Prosperity More Balanced Structure Better Distribution เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก และภูมิภาค Global and regional positioning นโยบายสังคมเชิงรุก Proactive social policy to create positive externality

28 Economic Restructuring
Agriculture Industry Service Economic Restructuring Value Chain by Cluster Sustained Prosperity More Balanced Structure Better Distribution Infrastructure and Logistics S&T, R&D, Innovation Macroeconomic Policy Human Resource Development Laws and Regulations

29 โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม
ยุทธศาสตร์เพิ่มมูลค่าภาคการเกษตรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ยุทธศาสตร์เพิ่มมูลค่าภาคอุตสาหกรรม และการค้าระหว่างประเทศ ยุทธศาสตร์การปรับ โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์การขยายฐานภาคบริการ ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมเชิงรุก ยุทธศาสตร์ความมั่นคงและการต่างประเทศ ยุทธศาสตร์การปรับปรุงประสิทธิภาพภาครัฐ

30 2 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การพัฒนาที่สมดุล มีคุณภาพ และยั่งยืน
กรอบทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะ ปีข้างหน้า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การพัฒนาที่สมดุล มีคุณภาพ และยั่งยืน สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีคุณภาพ เสมอภาคและสมานฉันท์ สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพ ปรับตัวได้มั่นคงและกระจายการพัฒนาที่เป็นธรรม จัดการและคุ้มครองฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนเพื่อผลประโยชน์ต่อคนรุ่นอนาคต พัฒนาศักยภาพคนและการปรับตัวบนสังคมฐานความรู้ พัฒนาเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ และมีภูมิคุ้มกันที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง สงวนรักษาทรัพยากร ธรรมชาติทั้งการใช้ การป้องกัน และการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพชีวิต และความมั่นคงในการดำรงชีวิต ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล พึ่งตนเองและเข่งขันได้ด้วยฐานความรู้ สร้างความเสมอภาคและการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนาในการบริหารจัดการสังคมที่ดี จัดการและธำรงไว้ซึ่งคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี สร้างภูมิคุ้มกันและความเข้มแข็งของทุนทางสังคมให้เกิดสันติสุข สมานฉันท์ และเอื้ออาทรต่อกัน กระจายผลประโยชน์ของการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม กระจายการใช้ทรัพยากรอย่างเป็นธรรมและการมีส่วนร่วมของประชาชน


ดาวน์โหลด ppt 01460443 การพัฒนาสังคม Social Development 1-2 : 18/25 พ.ย.54.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google