ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Fracture tibia and fibula
กระดูก tibia หักพบได้บ่อยกว่ากระดูกชิ้นอื่น อุบัติเหตุที่รุนแรงจะทำให้กระดูกหักและเนื่องจากกระดู tibia อยู่ตื้นจึงมักจะเกิดบาดแผลลึกถึงกระดูก(open fracture) ได้ง่าย soft tissue injury ที่รุนแรงจะเกิด necrosis ทำให้กระดูกโผล่บริเวณบาดแผลซึ่งจะต้องทำ reconstruction ในภายหลัง การรักษากระดูกtibia หักยังเป็นที่ ถกเถียงกันอยู่ว่าวิธีใดเหมาะสมที่สุดซึ่งควรจะพิจารณาในผู้ป่วยเป็นรายๆไป
3
กลไกการเกิดภยันตราย 1direct injury พบได้บ่อย ถ้าเป็น higt energy trauma มักจะเป็น open fracture ซึ่งทำให้ skin soft tissue ซอกซ้ำมาก 2 indirect injury มักเกิดจากการเล่นกีฬา หรือตกจากที่สูง ทำให้เกิดแรงบิดหมุนต่อ tibia ลักษณะกระดูกหักมักเป็นรอย แตกยาว (spiral fracture) หรือ long oblique fracture .ในพวกนี้ soft tissue injury จะไม่ค่อยมาก
4
อาการและอาการแสดง ในผู้ที่รู้สึกตัวดีจะบอกได้ค่อนข้างชัดเจน ขาจะบวมกดเจ็บอาจจะมีเสียงเวลาขยับ(crepitation) ขางอผิดรูป กดเจ็บมากบริเวณตำแหน่งกระดูกหัก หากมีแผลส่วนใหญ่มักจะถึงกระดูก ผิวหนังที่ซอกซ้ำมากอาจทำให้เกิด skin necrosis ได้ ควรตรวจความรู้สึกบริเวณหลังเท้าและฝ่าเท้า ขยับนิ้วเท้าดูเพื่อให้ทราบว่าเส้นประสาทและกล้ามเนื้ออยู่ในสภาพดีหรือไม่ คลำชีพจรบริเวณ dorsalis pedis และ posterior tibial artery ทั้งสองเส้นเสมอ กรณีที่ขาบวมมาก ตึง ผู้ป่วยมีอาการเจ็บปวดมาก ปลายเท้าชา ขยับนิ้วไม่ได้ ให้นึกถึง ภาวะ compartment syndrome ซึ่งต้องรักษาอย่างรีบด่วน
5
การรักษา Conservative Closed reduction apply long leg cast
6
Operation ORIF c plat and screw -ORIF c nail -External fixation
7
Complication --Release pressure .remove cast, splint, fasiotomy
.compartment syndrome—Eary detection --Release pressure .remove cast, splint, fasiotomy .vascular injury .infection .malunion
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.