ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยJittramas Khumpai ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
ความรู้บางอย่างเกี่ยวกับ ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram โดย : ดร.ธนู หาญพัฒนพานิชย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านที่ปรึกษาวิศวกรรมธรณี กรมชลประทาน กุมภาพันธ์ 2549
2
ความหมายของขนาดแผ่นดินไหว Magnitude
มาตรา Richter : ใช้ได้เฉพาะแผ่นดินไหวขนาดเล็กกว่า จุดศูนย์กลางต้องอยู่ในรัศมีไม่เกิน 650 กิโลเมตร การรายงาน USGS กำหนดให้เจ้าหน้าที่ของ USGS บอกถึงขนาดแผ่นดินไหวว่า “แผ่นดินไหวมีขนาด 6.0” ไม่ต้องใส่มาตรา 1
3
2
4
3
5
พลังทำลายของแผ่นดินไหวอยู่ที่ไหน
ทฤษฎี Elastic rebound : พลังงานสะสมจากการเคลื่อนตัวของมวลหินในรูปของ Strain energy เมื่อสูงมากกว่า strength ของหิน จะทำให้หินฉีกขาดปลดปล่อยพลังงานในรูปของการสั่นสะเทือน, ความร้อน และอื่น ๆ แบบทันทีทันใด ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของการสั่นสะเทือนแผ่นดินไหว พลังงานที่ปลดปล่อยมาสามารถประมาณจากความสัมพันธ์ของ Gutenberg และ Richter 1956 Log E = Ms E มีหน่วยเป็น ergs (1 erg = 7.5x10-8ft-lb) Ms คือ Surface Wave Magnitude เทียบกับแรงระเบิด M = 6.0 ขนาดเท่าระเบิดที่ Hiroshima M = 9.5 ขนาด 178,000 เท่าของระเบิดที่ Hiroshima 4
6
กราฟแสดงความสัมพันธ์ของขนาดแผ่นดินไหวกับพลังงานที่ปลดปล่อย
5
7
องค์ประกอบที่ควบคุมลักษณะของคลื่นแผ่นดินไหว (1)
1.ขนาดของแผ่นดินไหว 6
8
องค์ประกอบที่ควบคุมลักษณะของคลื่นแผ่นดินไหว (2)
2. ระยะห่างจากจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว 7
9
คุณสมบัติของคลื่นแผ่นดินไหว
คลื่นจากแผ่นดินไหวที่วัดได้ สามารถแสดงในรูปของ 1. อัตราเร่ง 2. ความเร็ว 3. การเคลื่อนที่ ให้สังเกตความแตกต่างของคลื่นแผ่นดินไหวเดียวกันบนชั้นหิน - ชั้นดิน โดยเทียบกับบันทึกเวลาของการเกิดคลื่น กราฟแสดงบันทึกค่าอัตราเร่ง/ ความเร็ว/ การเคลื่อนที่ต่อเวลาของแผ่นดินไหว (ซ้ายมือ-วัดที่ผิวหิน ขวามือ-วัดที่ผิวดิน) 8
10
ค่าอัตราเร่งสูงสุด หมายถึง ค่าอัตราเร่งสูงสุดที่เกิดขึ้นบนคลื่นแผ่นดินไหว โดยทั่วไปค่าอัตราเร่งสูงสุดจะสูงกว่า เมื่อขนาดแผ่นดินไหวใหญ่กว่า แต่แผ่นดินไหวขนาดแตกต่างกัน อาจมีค่าอัตราเร่งสูงสุดเท่ากันหรือน้อยกว่าก็ได้ 9
11
องค์ประกอบด้านความถี่ (Frequency Content) ของคลื่นแผ่นดินไหว
เป็นการอธิบายถึงความสัมพันธ์ของขนาดคลื่น (Amplitude) กับความถี่ที่ต่างกัน หรือคาบเวลา (period) ที่ต่างกัน ช่วง Amplitude สูงที่เกิดในเฉพาะช่วงความถี่แคบ (คาบเวลาแคบ) จะมีผลรุนแรงเฉพาะในช่วงคาบเวลาหรือความถี่นั้น ๆ ช่วง Amplitude สูงที่เกิดเป็นช่วงความถี่กว้าง (คาบเวลากว้าง) จะมีผลรุนแรงได้ในหลาย ๆ ช่วงคาบเวลาหรือช่วงความถี่ 10
12
Response Spectra เป็นการอธิบายผลตอบสนองสูงสุดของการเคลื่อนที่ของมวลภายใต้แรงสั่นสะเทือนแบบทิศทางเดียว (SDOF) ที่ความถี่หรือคาบเวลาต่างกัน จะเห็นว่า การเกิดความเร่งสูงสุด – ความเร็วสูงสุด – การเคลื่อนที่สูงสุด จะเกิดที่คาบเวลาหรือความถี่ที่แตกต่างกัน 11
13
Duration หมายถึง ช่วงระยะเวลาของการสั่น สัมพันธ์กับการปลดปล่อยพลังงานออกมา ซึ่งจะไม่เท่ากัน
เช่น กำหนดค่าอัตราเร่งสูงสุดได้ 0.05g ช่วงระยะเวลาที่ได้รับการสั่นสะเทือนด้วยอัตราเร่งเกินกว่าที่กำหนด (Bracketed duration) ในชั้นหินและชั้นดินจะแตกต่างกัน 12
14
ความสัมพันธ์ของ Bracket duration ที่ค่า g 0
13
15
คิดเทียบเป็นจำนวนรอบของ stress และ harmonic (Equivalent Uniform Stress Cycles) โดยคิดจากแรงดันน้ำในดินที่เกิดจากจำนวนรอบของการเฉือนแบบ dynamic ด้วย harmonic stress มีขนาด (Amplitude) เท่ากับ 65% ของ maximum shear stress ของดิน 14
16
ผลกระทบจากแผ่นดินไหว 9.2 สุมาตรา 26 ธันวาคม 2547
ผลกระทบจากแผ่นดินไหว 9.2 สุมาตรา 26 ธันวาคม 2547 ความรู้ คลื่นแผ่นดินไหว ประกอบด้วย ความถี่สูง (High frequency) = คาบสั้น (Short period) และ คลื่นความถี่ต่ำ (Low frequency) = คาบยาว (long period) คุณสมบัติของคลื่น ความถี่สูงไปได้ไม่ไกล สลายตัวเร็ว ความถี่ต่ำไปได้ไกล สลายตัวช้า ผลกระทบของแผ่นดินไหว 26 ธันวาคม จึงเกิดจากคลื่นความถี่ต่ำ แต่ความรู้สึกของมนุษย์ที่รับรู้ต่อคลื่นความถี่ต่ำ มีสูง 15
17
ความรับรู้ของมนุษย์ตาม Modified Mercalli Scale
16
18
ค่าอัตราเร่งพื้นดินในแนวราบ (Horizontal PGA) ที่วัดได้และคำนวณได้
17
19
THANK YOU
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.