งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิชา สรีรวิทยาของพืช 1202 320 (Plant Physiology)
15 กรกฎาคม 2552

2 การขนส่งอาหารเข้าสู่โฟลเอมที่แหล่งส่งอาหาร (Phloem loading)
น้ำตาลซูโครสในซีพเอลิเมนท์มีความเข้มข้นสูงกว่า เซลล์มีโซฟิลล์ที่อยู่ข้างเคียงถึง – 3 เท่า การขนส่ง น้ำตาลจากเซลล์มีโซฟิลล์เข้าสู่ซีพเอลิเมนท์ จึงเป็นการ ขนส่งแบบแอคทีฟ และความเข้มข้นของน้ำตาลที่สูงใน โฟลเอมของเส้นใบย่อยมีผลให้เกิดแรงดันของเหลวออก จากแหล่งส่งอาหาร

3

4 การขนส่งน้ำตาลเกิดได้ 2 แบบ
การขนส่งน้ำตาลเกิดได้ 2 แบบ 1. แบบซิมพลาสต์ (symplastic pathway) - การขนส่งจากเซลล์มีโซฟิลล์ผ่านเซลล์ต่างๆ ไปจนถึงซีฟเอลิเมนท์ผ่านทางพลาสโมเดสมาต้าโดยตลอด

5 2. น้ำตาลเคลื่อนที่จากมีโซฟิลล์ผ่านเซลล์บันเดิลชีทเข้าสู่เซลล์พาเรงคิมาโดยใช้ระบบซิมพลาสต์ จากนั้นน้ำตาลจะถูกขนส่งออกสู่ระบบอะโพพลาสต์ ผ่านพลาสมาเมมเบรน ของเซลล์พาเรงคิมาออกสู่ผนังเซลล์ของเซลล์พาเรงคิมา แล้วน้ำตาลถูกขนส่งเข้าเซลล์ประกบและซีฟเอลิเมนท์ โดยกลไกการขนส่งแบบแอกทีฟในพลาสมาเมมเบรนของเซลล์ทั้งสอง

6 CO2 Mesophyll cells Plasmodesmata CO2 Phloem parenchyma
Bundle sheath Companion cell

7

8 การลำเลียงน้ำตาลจากแหล่งผลิต(เซลล์มีโซฟิลล์) เข้าสู่โฟลเอม (ซีฟเอลิเมนท์) (Phloem loading)
1. เป็นการลำเลียงแบบแอคทีฟต้องใช้พลังงาน (active transport) 2. มีกลไกคัดเลือกสารที่เฉพาะเจาะจง (selective loading) 3. การขนส่งต้องใช้โปรตีนขนส่งพาซูโครสเข้าไปในซีฟเอลิเมนท์ 4. ถูกยับยั้งโดยอุณหภูมิต่ำและตัวยับยั้งเมแทบอลิซึม

9

10 http://www. uic. edu/classes/bios/bios100/lecturesf04am/sucrosepump

11 การขนส่งออกจากโฟลเอมที่แหล่งรับอาหาร (Phloem unloading)
การเคลื่อนที่ของน้ำตาลซูโครสออกจากซีฟเอลิเมนท์ เข้าสู่เซลล์รับอาหาร (sink cell) มี 2 เส้นทาง 1. เส้นทางซิมพลาสต์ โปรตีนขนส่งพาซูโครสผ่านพลาสโม เดสมาตาออกจากซีฟเอลิเมนท์เข้าสู่เซลล์รับอาหาร ซึ่งเป็นเซลล์ของเนื้อเยื่อที่กำลังเจริญเติบโต

12 2. เส้นทางอะโพพลาสต์ (ดูในรูปข้างล่าง)
2. เส้นทางอะโพพลาสต์ (ดูในรูปข้างล่าง) ส่วนใหญ่เกิดใน sink cell ที่เป็นเนื้อเยื่อสะสมอาหาร 1.) ซูโครสออกจากซีฟเอลิเมนท์เข้าสู่ผนังเซลล์ของเซลล์รับอาหารถูกเปลี่ยนเป็นกลูโคสและฟรุคโทสโดยเอนไซม์อินเวอร์เทส (invertase) ในผนังเซลล์ก่อนแล้วจึงเคลื่อนที่ไปกับโปรตีนขนส่งเข้าสู่ไซโทพลาสซึม

13 หรือ 2.) ซูโครสผ่านเข้าไปกับโปรตีนขนส่งได้โดยตรง
2.) ซูโครสผ่านเข้าไปกับโปรตีนขนส่งได้โดยตรง 3.) เมื่อซูโครสอยู่ในไซโทพลาสซึมของเซลล์รับอาหารจะถูกเปลี่ยนเป็นกลูโคสและฟรุกโทสโดยเอนไซม์อินเวอร์เทสที่อยู่ในไซโทพลาสซึม

14 หรือ 4.) ซูโครสผ่านเข้าไปกับโปรตีนขนส่งทางโทโนพลาสต์เมมเบรนไปเก็บไว้ในแวคิลโดย 5.) เมื่อซูโครสเข้าไปในแวคิวโอลอาจเปลี่ยนรูปเป็นกลูโคสและฟรุกโทสโดยเอนไซม์อินเวอร์เทสที่อยู่ในแวคิวโอล หรือเก็บสะสมในรูปซูโครสก็ได้

15 ที่มา :http://4e.plantphys.net/image.php?id=144

16

17 Quiz 1. ว่านกาบหอย (Rhoe discolor) 2. ออสโมติกโพเทนเชียล
3. ค่าชลศักย์เท่ากับค่าออสโมติกเพรสเชอร์ 4. พลาสโมไลซิส (Plasmolysis) 5.  = -(0.20)(2.52) = - 504


ดาวน์โหลด ppt วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google