ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPhongsak Niratpattanasai ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
สถิติ โดย มิสกรรณิกา หอมดวงศรี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
2
สถิติ หมายถึงตัวเลขที่บอกถึงข้อเท็จจริงต่าง ๆ หรือข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงและเป็นตัวเลขที่อยู่ในลักษณะสรุปรวบยอดซึ่งประมวลมาได้จากข้อมูลเบื้องต้น โดยการวิเคราะห์ มีระเบียบวิธีการทางสถิติ ขั้นตอน 1.การเก็บรวบรวมข้อมูล 2.การนำเสนอข้อมูล 3.การวิเคราะห์ข้อมูล 4.การตีความหมายข้อมูล
3
ตารางแจกแจงความถี่ เป็นการนำเสนอข้อมูลโดยการนำข้อมูลดิบที่เก็บรวบรวมมาจัดให้เป็นระเบียบเพื่อความสะดวกในการนำไปวิเคราะห์แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ 1. ตารางแจกแจงความถี่ของข้อมูลไม่จัดหมวดหมู่ของข้อมูล 2. ตารางแจกแจงความถี่ของข้อมูลที่จัดหมวดหมู่ของข้อมูล
4
สิ่งที่ควรทราบจากตารางแจกแจงความถี่ที่จัดหมวดหมู่ของข้อมูล
1. ขีดจำกัดชั้นในแต่ละอันตรภาคชั้นจะมีขีดจำกัดชัน 2 ค่า คือ ขีดจำกัดบนและขีดจำกัดล่าง 2.ขอบเขตชั้นมี 2 ค่าคือ ขอบเขตบนและขอบเขตล่าง ขอบเขตบน = ขีดจำกัดบนของชั้นนั้น ขีดจำกัดล่างของชั้นถัดไป 2 ขอบเขตล่าง = ขีดจำกัดล่างของชั้นนั้น ขีดจำกัดบนของชั้นถัดลงมา 3. ความกว้างของอันตรภาคชั้นเป็นค่าความแตกต่างระหว่างขอบเขตชั้นของแต่ละชั้นนั่นคือความกว้างของอันตรภาคชั้น = ขอบเขตบน ขอบเขตล่าง 4. จุดกึ่งกลางชั้นคือค่าของข้อมูลที่อยู่กึ่งกลางระหว่างขอบเขตชั้นหาได้จากสูตร จุดกึ่งกลาง = ขอบเขตล่าง + ขอบเขตบน หรือ ขีดจำกัดล่าง + ขีดจำกัดบน
5
ค่ากลางของข้อมูล ค่ากลางของข้อมูลคือค่าที่เป็นตัวแทนของข้อมูลกลุ่มนั้นที่จะนำไปใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในทีนี้จะกล่าวถึง 3 ชนิดคือ 1.ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 2.มัธยฐาน 3.ฐานนิยม
6
1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหาได้จากการนำค่าของข้อมูลมาบวกกัน แล้วหารด้วยจำนวนข้อมูล 2. มัธยฐาน มัธยฐานคือค่าของข้อมูลที่มีตำแหน่งอยู่กึ่งกลางของข้อมูล เมื่อนำข้อมูลมาเรียงจากน้อยไปหามาก 3. ฐานนิยม ฐานนิยมคือข้อมูลตัวที่มีค่าซ้ำกันมากที่สุด
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.